Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
dc.contributor.authorนิมิตร จันทร์จารุth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T07:52:11Z-
dc.date.available2023-05-23T07:52:11Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6124en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในเรือนจำพิเศษพัทยา จังหวัดชลบุรีและ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ต้องขังปัจจัยทางจิตวิทยาของผู้ต้องขัง ปัจจัยแวดล้อมภายในเรือนจำของผู้ต้องขังก่อนพ้นโทษครั้งหลังสุดและปัจจัยแวดล้อมภายนอกเรือนจำของผู้ต้องขังก่อนต้องโทษครั้งหลังสุดกับพฤติกรรมการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังประชากรที่ศึกษาในครั้งนี้คือ ผู้ต้องขังภายในเรือนจำพิเศษพัทยาทั้งหมด ทั้งผู้ต้องขังชายและผู้ต้องขังหญิงที่กระทำผิดซ้ำตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป จำนวน 420 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบวัดมาตรประมาณรวมค่าจำนวน 6 ส่วน ค่าความเที่ยงตั้งแต่ 0.62 ถึง 0.71 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแจกแจงความถี่ สำหรับการทดสอบสมมติฐานใช้ค่าสถิติ ไคสแควร์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ต้องขัง ลักษณะทั่วไปและลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังมีเพียงเพศเท่านั้นที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดซ้ำ ของผู้ต้องขังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยทางจิตวิทยาของผู้ต้องขัง มีระดับความประพฤติปฏิบัติตามวิถีทางศาสนาอยู่ในระดับปานกลางและมีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยแวดล้อมภายในเรือนจำก่อนพ้นโทษครั้งหลังสุดผู้ต้องขังที่เคยรับผิดทางวินัยภายในเรือนจำมาก่อนมีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัจจัยแวดล้อมภายนอกเรือนจำความสัมพันธ์ภายในครอบครัวและความสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อนมีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.303en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเรือนจำพิเศษพัทยาth_TH
dc.subjectการกระทำผิดซ้ำth_TH
dc.subjectนักโทษth_TH
dc.titleการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขัง กรณีศึกษาเรือนจำพิเศษพัทยา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativePrisoner' recidivism : a case study of Pattaya Remand Prison, Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.303-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.303en_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.303en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to (1) study the recidivism behavior of the Prisoners in Pattaya Remand Prison, Chon Buri; and (2) study the correlations between the prisoners’ personal factors, psychological factors, internal prison surroundings factors before their last releases from confinement, external prison surroundings factors before their last confinements and the recidivism behavior of the prisoners. Population included all prisoners in Pattaya Remand Prison including 420 male and female prisoners who committed offenses more than two times. Questionnaire with six level of rating scale and with reliability level ranged from 0.62 to 0.71 was used as instrument. Statistical tools employed W'ere percentage, mean, standard deviation, and frequency distribution. Hypothesis test was conducted by Chi Square at 0.05 level of significance. Research results revealed that (1) gender was the only prisoners’ personal factor that correlated with recidivism behavior at 0.05 level of significance; (2) in tense of psychological factor, religious behavior of the prisoners was at the moderate level and correlated with recidivism at 0.05 level of significance; when considered internal surrounding factors before their last releases, discipline misconducts during their imprisonments correlated with recidivism behavior at 0.05 level of significance; and as for external prison surrounding factors, family and friend relationships correlated with recidivism behavior at 0.05 level of significance.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109963.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons