Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorสิริมนต์ หั้นเจริญth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T03:06:56Z-
dc.date.available2023-05-24T03:06:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6138en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ความเข้าใจของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ (2) ศึกษาทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัด ต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ (3) ศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัด จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล (4) ศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัด จำแนกตามระดับความรู้ความเข้าใจ ในการวิจัยใช้วิธีการสำรวจกลุ่มตัวอย่างข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดทั่วประเทศ จำนวน 296 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 1,143 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำมาวิเคราะห์ประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS ใช้สถิติในการวิจัย คือค่าเฉลี่ย ค่ารัอยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบพทุคูณตามวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายู 41-50 ปี สมรสแลัว จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ทำงานในตำแหน่งเจัาหน้าที่บริหารงานการคลัง เป็น ข้าราชการระดับ 5-6 อัตราเงินเดือน 10,001 - 20,000 บาท อายุงาน 21 - 30 ปี (2) ข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจในระดับสูง (3) ทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดอยู่ในระดับไม่แน่ใจ (X - 3.39) (4) สถานภาพส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อทัศนคติต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจในภาพรวม แต่เพื่อวิเคราะห์เป็นรายด้านพบว่าระดับการศึกษาต่างกันมีผลต่อทัศนคติด้านลักษณะงาน อัตราเงินเดือนระดับ(ซี) และอายุงานต่างกันมีผลต่อทัศนคติด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการ และอายุงานต่างกันมีผลต่อทัศนคติด้านการมีส่วนร่วม อย่างมีนัยสำดัญที่ระดับ 0.05 (5) ระดับความรู้ความเข้าใจที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดที่มีต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.119en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานคลังจังหวัด--ข้าราชการ--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการปรับเปลี่ยนภารกิจth_TH
dc.titleทัศนคติของข้าราชการสำนักงานคลังจังหวัดต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจth_TH
dc.title.alternativeAttitude of civil servants in Provincial Fiscal Offices toward functions and roles adjustmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.119-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.119en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the level of knowledge and understanding of functions and roles adjustment of civil servants in Provincial Fiscal Offices; (2) study the attitude of civil servants in Provincial Fiscal Offices toward functions and roles adjustment; (3) comparing the attitude of civil servants in Provincial Fiscal Offices toward functions and roles adjustment classified by personal status; (4) comparing the attitude of civil servants in Provincial Fiscal Offices toward functions and roles adjustment classified by level of knowledge and understanding. The samples consisted of 296 persons from population comprised 1,143 persons. The researcher utilized questionnaires in collecting data and employed the SPSS program in analyzing data such as mean, percentage, standard deviation, t-test. One-way ANOVA and LSD. The results of these analyzes showed that (1) most of civil servants in Provincial Fiscal Offices were females, 41-50 years old, marriage, Bachelor’s degree, finance administration staffs, common level 5-6, Salary 10,001 - 20,000 baht, 21-30 years of experience ; (2) the level of knowledge and understanding of functions and roles adjustment at high level; (3) the attitude of function and role adjustment were in “not sure” level (X = 3.39); (4) different personal status did not influence general attitudes but education level were influence in term of quality of work , salary, common level and years of experience were influence in term of customers satisfaction and years of experience influence in term of participation found to be significantly different at the 0.05 level; and (5) different levels of knowledge and understanding toward functions and roles adjustment did not influence the attitudes of the civil servants offices.en_US
dc.contributor.coadvisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109979.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons