Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมินตรา ลายสนิทเสรีกุล-
dc.contributor.authorบัญชา ชลาภิรมย์-
dc.contributor.authorธีรภัทร กุโลภาส-
dc.date.accessioned2022-08-14T13:45:43Z-
dc.date.available2022-08-14T13:45:43Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 158-174th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/621-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แนวคิดความไว้วางใจของคณะครู และแนวคิดคุณภาพของผลลัพธ์ทางการศึกษา และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารวิชาการตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การบริหารวิชาการตามแนวคิดความไว้วางใจของคณะครู และการบริหารวิชาการตามแนวคิดคุณภาพของผลลัพธ์ทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนมัธยมสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน 333 โรง ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ตัวแทนหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และตัวแทนครู 1,020 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นด้วยดัชนี PNImodified และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารวิชาการทั้งด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลของทั้งสามกลุ่มแนวคิดอยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของทั้งสามกลุ่มแนวคิดอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยความต้องการจำเป็นที่มีค่าสูงที่สุดเป็นอันดับแรก คือ การพัฒนาหลักสูตร อันดับสอง คือ การจัดการเรียนการสอน และอันดับสาม คือ การวัดและประเมินผล และ 2) ความสัมพันธ์ของตัวแปร พบลักษณะความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน โดยการบริหารวิชาการทุกด้านภายใต้แนวคิดเดียวกันมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางถึงสูงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนการบริหารวิชาการที่ต่างแนวคิดกัน พบว่า มีเพียงการบริหารวิชาการตามแนวคิดความไว้วางใจของคณะครูกับการบริหารวิชาการตามแนวคิดคุณภาพของผลลัพธ์ทางการศึกษาที่มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางถึงสูง ในขณะที่ด้านอื่นมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมากth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารวิชาการตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพความไว้วางใจของคณะครูและคุณภาพของผลลัพธ์ทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.title.alternativeRelationships between academic administration based on the concepts of professional learning community, the trust of teachers, and quality of educational outcomes in Secondary Schools under the Office of Basic Education Commissionth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the current state, desirable state, and the needs of academic administration of secondary schools based on the concept of professional learning community (PLC), the concept of the trust of teachers, and the concept of quality of educational outcomes; and (2) the relationships between academic administration based on the concept of PLC, academic administration based on the concept of the trust of teachers, and academic administration based on the concept of quality of educational outcomes. The research sample consisted of 333 secondary schools under the Office of Basic Education Commission (OBEC). The research informants were 1020 school personnel classified into school directors, associate school directors, representatives of learning areas, and representatives of teachers. Statistics employed for data analysis included the percentage, mean, standard deviation, PNI modified, and Pearson's correlation coefficient. The findings showed that (1) the current states of academic administration based on the concepts of PLC, the trust of teachers, and quality of educational outcomes were rated at the high level; while the desirable states of academic administration based on the three concepts were rated at the highest level; regarding the needs, the highest need was the need for curriculum development, the second highest need was that for instructional management, and the third highest need was that for measurement and evaluation; and (2) as for relationships of variables, it was found that the relationships were of different characteristics that could be further specified as follows: academic administrations in all aspects based on the same concept correlated positively at the moderate to high levels; as for academic administrations based on different concepts, it was found that only academic administration based on the concept of the trust of teachers and that based on the concept of quality of educational outcomes correlated positively at the moderate to high levels; while academic administrations based on other concepts correlated at the very low levelen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43335.pdfเอกสารฉบับเต็ม592.68 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons