Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภวัช พิทักษ์เสรีชน, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-27T03:18:23Z-
dc.date.available2023-05-27T03:18:23Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6228en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกงตามนโยบายของ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร (2) เพื่อ เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกง ระหว่างกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มครูผู้สอนในสังกัด สํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร (3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกง จําแนกตามกลุ่มวิทยฐานะของครูในสังกัดสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร และ (4) เพื่อศึกษาปัญหา กรุงเทพมหานคร และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกงของข้าราชการครูในสังกัดสํานักงานเขตบางแค กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการครูในสังกัดสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร จํานวน 250 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยเปิดตารางเครจซี่และมอร์แกน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบค่าที กรณีพบความ แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีการของ เชฟเฟ ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับสภาพการใช้หลักสูตรโตไปไม่ โกงตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร โดยรวม มีความสอดคล้องกัน อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็น เกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกง ระหว่างกลุ่มผู้บริหาร และกลุ่มครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน เขตบางแค กรุงเทพมหานคร โดยรวม มีความคิดเห็นที่ไม่แตกต่างกัน 3) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็น เกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกงในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร จําแนกตาม กลุ่มวิทยฐานะ โดยรวม พบว่า กลุ่มที่ไม่มีวิทยฐานะและกลุ่มวิทยฐานะชํานาญการ มีความคิดเห็นแตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่นเดียวกับ กลุ่มวิทยฐานะชํานาญการและกลุ่มวิทยฐานะชํานาญ การพิเศษ ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มที่ไม่มีวิทยฐานะและกลุ่มวิทย ฐานะชํานาญการพิเศษ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 4) ปัญหา โดยรวม พบว่า ครูผู้รับผิดชอบยังขาดความ เข้าใจในการดําเนินกิจกรรม และขาดการดูแลติดตามของผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง ส่วนข้อเสนอแนะ โดยรวม พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาควรชี้แจง การดําเนินกิจกรรมตามหลักสูตรโตไปไม่โกงให้ครูผู้สอนได้เข้าใจอย่าง ชัดเจน และมีการกํากับติดตามการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ตามหลักสูตรฯอย่างต่อเนื่อง และค อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยตรงลงบ้าง เพื่อให้ครูได้มีเวลาจัดเตรียมการสอนที่ครอบคลุมเนื้อหา สาระตามหลักสูตร และควรมีการพัฒนาหลักสูตรฯ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบ -- ไทย -- นโยบายของรัฐth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleสภาพการใช้หลักสูตรโตไปไม่โกงตามนโยบายของอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe state of implementation of the anti-corruption curriculum based on the policy of a Bangkok Governor in School under Bang Kae District Office, Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research The purpose of (1) to study the condition of the course, not to cheat. According to the policy of the Governor of Bangkok. In schools under the Bangkae District Office, Bangkok (2) to compare the opinions on the use of the course to not cheat Between administrators and teachers in Bang Khae district Bangkok (3) to compare the opinions on the use of the course to not cheat. Classified by academic groups. Of teachers in Bang Khae District Office, Bangkok and (4) to study problems and suggestions regarding the use of the cheating program of teachers in Bangkae District Office. Bangkok The samples were teachers in Bangkae District Office. Bangkok's 250 patients were randomly sampled. The statistics were used to calculate the standard deviation. And one-way ANOVA. In case of significant difference Will test the difference in pairs. By the way, Sheffield. The results showed that: 1) The opinions of administrators and teachers about The State of Implementation of the Anti-Corruption Curriculum Based On the Policy of a Bangkok Governor in School under Bang Khae District Office, Bangkok Metropolitan Administration The overall level. 2) The comparison of opinions about the course was not cheating. International Management Group And a group of teachers in schools under the Office Bang Khae. Bangkok Metropolitan Administration overall are not that different. 3) The comparison of opinions about the course was not cheating in schools under the Office, Bang Khae. Bangkok Accreditation by the overall group showed no accreditation and the accreditation specialists. Opinions differ statistically significant at the .05 level As well as the professional and academic standing. The accreditation Specialist. The opinions vary significantly at the .05 level. The group has no accreditation and the accreditation Specialist. Comments are no different. 4) The overall problem that teachers lack an understanding of the activities. Lack of supervision and monitoring of the executive continued. The recommendations include that school administrators should clarify. The activities of the course was to cheat the teachers have a clear understanding. And monitoring the activities. As the course continues And should reduce the burden on other tasks. Irrelevant Education directly down. So teachers have time to prepare comprehensive teaching material of the course. And should be developed curriculum. In accordance with the situation.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156592.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons