Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรวีร์ ข่าทิพพาที, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-29T03:48:13Z-
dc.date.available2023-05-29T03:48:13Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6244en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการจัดสภาพแวดล้อมเพี่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 (2) เปรียบเทียบระดับการจัดสภาพแวดล้อมเพี่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 จำแนกตามขนาดและที่ตั้งของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขต สุราษฎร์ธานี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 กลุ่มตัวอย่างเป็นครูในโรงเรียนสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบรายคู่ของเชฟเฟ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การจัดสภาพแวดล้อมเพี่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 ในภาพรวมและรายด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบการจัดสภาพแวดล้อมเพี่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาขนาดเล็กมีระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้สูงกว่าสถานศึกษาขนาดกลาง สถานศึกษาขนาดใหญ่มีระดับการปฏิบัติสูงกว่าสถานศึกษาขนาดกลาง และสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษมีระดับการปฏิบัติสูงกว่าสถานศึกษาขนาดกลาง ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 เมื่อจำแนกตามที่ตั้งของสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของโรงเรียนในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี และนอกเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีมีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้สูงกว่าโรงเรียนที่ตั้งอยู่นอกเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี และ (3) สำหรับปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมเพี่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 พบว่า ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมด้านกายภาพที่สำคัญที่สุด คือ การปรับซ่อมอาคารเรียนและอาคารประกอบให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ แนวทางการแก้ปัญหา คือ โรงเรียนควรจัดให้มีผู้รับผิดชอบโดยตรง ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมด้านวิชาการที่สำคัญที่สุด คือ การขาดแคลนงบประมาณในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียน แนวทางการแก้ปัญหา คือ ขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมด้านบริหารจัดการที่สำคัญที่สุด คือ ครูขาดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน แนวทางการแก้ปัญหาคือ มีการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณบุคลากรที่มีผลงานดีเด่น และการสร้างแรงจูงใจโดยวิธีการที่หลากหลายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมห้องเรียน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11th_TH
dc.title.alternativeEnvironmental Management for student learning in Surat Thani consortium 1 Schools under the Secondary Education Service Area Office 11th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1 schools under the Secondary Education Service Area Office 11; (2) to compare levels of environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1 schools under the Secondary Education Service Area Office 11, as classified by school size and location; and (3) to study problems and guidelines for solving problems of environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1 schools under the Secondary Education Service Area Office 11. The research sample consisted of 285 teachers in Surat Thani Consortium 1 schools under the Secondary Education Service Area Office 11. The instrument used for data collection was a questionnaire with reliability coefficient of 0.95. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Scheffe’s matched pair comparison. The research findings showed that (1) both the overall and by-aspect environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1 schools were rated at the high level; (2) regarding the comparison of levels of environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1schools as classified by school size, it was found that small schools, large schools and extra-large schools practiced environmental management for student learning at the higher level than that of medium-size schools at the .05 level of statistical significance; as for school location, it was found that schools located within Surat Thani city municipal area practiced environmental management for student learning at the higher level than that of schools located outside Surat Thani city municipal area at the .05 level of statistical significance; and (3) as for problems and guidelines for solving problems of environmental management for student learning in Surat Thani Consortium 1 schools, it was found that the most serious problem of physical environment management was that of maintenance and repair of classroom and supplementary buildings, while the suggested guideline for solving the problem was that there should be staff members directly responsible for the job; the most serious problem of academic environment management was that of the lack of budget in support of promoting student learning management, while the suggested guideline for solving the problem was that the school should ask for budgetary support from outside organizations; and the most serious problem of managerial environment management was that the teachers lacked morale in work performance, while the suggested guideline for solving the problem was that there should be praises and citations for teachers who had outstanding work performance and other various measures for enhancing work performance morale of teachersen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_149637.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons