Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนภรณ์ จุลพูล-
dc.contributor.authorนินนาท์ จันทร์สูรย์-
dc.contributor.authorเมธี ดิสวัสดิ์-
dc.date.accessioned2022-08-16T09:55:41Z-
dc.date.available2022-08-16T09:55:41Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 205-219th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/629-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดอุปกรณ์การชุบโลหะทองแดงด้วยไฟฟ้าตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนลันตาราชประชาอุทิศ จังหวัดกระบี่ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 21 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดอุปกรณ์การชุบโลหะทองแดงด้วยไฟฟ้าโดยใช้วิธีการชุบแบบทาด้วยปากกา 2) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ 3) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดอุปกรณ์การชุบโลหะทองแดงด้วยไฟฟ้าที่ออกแบบและสร้างขึ้นโดยใช้วิธีการชุบแบบทาด้วยปากกา มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ มีความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์ ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยชุดอุปกรณ์การชุบโลหะทองแดงด้วยไฟฟ้าที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeEffect of learning STEM Education together with electro plating copper of electrochemistry on scientific creativity ability thinking of Grade 11th Studentsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) develop and find efficiency of copper electroplating equipment, 2) compare the scientific creativity thinking ability of grade 11th students who have been learned according to STEM educational approach with the equipment set, and 3) study the satisfaction of learning management according to the STEM educational approach with the equipment set. Twenty one students in grade 11th at Lantarachpracha Utit School academic year 2019, Krabi province were sampling. The research instruments were 1) Electroplating copper plating kit by pen plating, 2) Lesson plan according to the STEM educational approach with the equipment set, 3) Science creativity test, 4) Questionnaire for satisfaction on learning management according to the STEM Education using the equipment set. Percentage, mean, standard deviation and Dependent t-test were statistically analyzed. The results showed that copper electroplating equipment set using pen plating was very good. 2) Students’ scientific creativity thinking skills in posttest were significantly higher than pretest (P< .01), and 3) Students’ satisfaction of learning management according to the STEM education with the equipment set was highest level (4.70)en_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43338.pdfเอกสารฉบับเต็ม488.63 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons