Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวพร อังกุลดี-
dc.contributor.authorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์-
dc.contributor.authorสุจินต์ วิศวธีรานนท์-
dc.date.accessioned2022-08-16T10:03:14Z-
dc.date.available2022-08-16T10:03:14Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 220-233th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/631-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียน (2) เปรียบเทียบทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียน และ(3) เปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์” จัดนักเรียนแบบคละความสามารถ แผนการเรียนภาษาและเทคโนโลยีที่เรียนวิชาการพูด จำนวน 43 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรายวิชาการพูด แบบวัดทักษะการพูด แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพูด และแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาการพูด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) เจตคติต่อการเรียนวิชาการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectภาษาไทย -- การพูดth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeEffects of cooperative learning management to develop Thai Language Speaking Skill of Mathayom Suksa V Studentsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the speaking learning achievement of Mathayom Suksa 5 students before and after learning under cooperative learning management (2) to compare the speaking skills of Mathayom Suksa V students before and after learning under cooperative learning management and (3) to compare attitude towards the speaking subject of Mathayom Suksa V students before and after learning under cooperative learning management. The sample of this research consisted of 43 Mathayom Suksa V students studying in Language and Technology education program at Bangplama Soongsumarn Pradungwit school, who enrolled for the speaking subject. The sample obtained by multi-stage sampling. The research instruments used in this study were the cooperative learning management plans in speaking subject, speaking skills test, speaking learning achievement test and attitude toward speaking subject inventory. The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the post-learning speaking learning achievement scores of the student learning under cooperative learning management were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of significance; (2) the post-learning speaking skill scores of the student learning under cooperative learning management were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of significance; and (3) the post-learning attitude toward speaking subject scores of the student learning under cooperative learning management were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of significanceen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43339.pdfเอกสารฉบับเต็ม393.6 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons