Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์th_TH
dc.contributor.authorกิตติภูมิ ผลวิเศษสิทธิ์, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-16T10:35:30Z-
dc.date.available2022-08-16T10:35:30Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/635en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ใน อ.นางรอง และ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของกิจกรรมค่ายศิลปะเด็กกับเจตคติที่มีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1- 6 ใน อ.นางรองและ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้น ม.1-ม.6 ร.ร.นางรองพิทยาคม อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ จำนวน 55 คน นักเรียนชั้น ม.1-ม.6 ร.ร.แสลงโทนพิทยาคม อ.ประโคนชัยจ.บุรีรัมย์ จำนวน 20 คน นักเรียนชั้น ม.1-ม.3 ร.ร.บ้านแสลงโทน อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ จำนวน 20 คน นักเรียนชั้น ม.1-ม.6 ร.ร.ประโคนชัยพิทยาคม อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่ อบต.แสลงโทน และครูผู้ดูแลค่าย จำนวน 20 คน รวม 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 2 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยค้นพบว่า 1. การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ใน อ.นางรอง และ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ อยู่ในระดับปานกลางทั้งสองอำเภอ 2. ความสัมพันธ์ของกิจกรรมค่ายศิลปะเด็กกับเจตคติที่มีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ใน อ.นางรองและ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ อยู่ในระดับปานกลางทั้งสองอำเภอ 3. เจตคติในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ใน อ.นางรอง และ อ.ประโคนชัย หลังการเช้าค่ายฯ สูงกว่าก่อนการเข้าค่ายฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งสองอำเภอ แสดงว่าการเข้าค่ายศิลปะฯ ทำให้นักเรียนในทั้งสองอำเภอมีเจตคติในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4. ความพึงพอใจของครูผู้ดูแลค่าย และเจ้าหน้าที่ อบต. ต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปืที่ 1 - 6 ใน อ.นางรอง และ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ อยู่ในระดับมากทั้งสองอำเภอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.titleค่ายศิลปะเด็กกับการปลูกฝังเจตคติและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 อำเภอนางรอง และอำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeRelation of children's art camp and attitude implementation and participation for environmental preservation : a case study of Mattayomsuksa 1-6 in Nang Rong District and Prakhon Chai District, Buri Ram Province / กิตติภูมิ ผลวิเศษสิทธิ์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) examine the results of Nang Rong and Prakhon Chai District’s participation in student environmental preservation activities; and 2) study the relationship between “Children’s Art Camp” and increased interest in environmental preservation amongst Mattayomsuksa 1 -6 students from Nang Rong and Prakhon Chai District, Buri Ram Province. The research sample consisted of 120 students. 55 students being in Mattayomsuksa 1-6 from Nang Rong Pittayakom School, Nang Rong District, Buri Ram Province, 20 students Mattayomsuksa 1-6 from Salangthon Pittayakom School, Prakhon Chai District, Buri Ram Province, 20 students Mattayomsuksa 1 -3 from Ban Salangthon School, Prakhon Chai District, Buri Ram Province, 5 students from Prakhon Chai Pittayakom School, Prakhon Chai District, Buri Ram Province, 20 officers in Salangthon Sub-District Administrative Organization and teachers who acted as camp supervisors. Two questionnaires were used to collected data. The data analyzed by using percentage statistics, arithmetic means and standard deviation. The results yielded that (1) the level of community participation in environmental preservation activities was at the moderate level; (2) the relationship between “Children’s Art Camp” and the attitudes towards environmental preservation activities amongst Mattayomsuksa 1-6 students from Nang Rong and Prakhon Chai Districts was at the moderate level. (3) The increase in student-expressed interest levels in environmental preservation between data collected before and after participation in the camp was statistically significant at the 0.05 level. It was implied that “Children’s Art Camp” could encourage an attitude in environmental preservation activities amongst students from Nang Rong and Prakhon Chai Districts. (4) Teachers and officers of Salangthon Sub-District Administrative Organization who acted as camp supervisors expressed at the high level of satisfaction in regards to student who were interested in participating in environmental preservation activities.en_US
dc.contributor.coadvisorสุดจิต เจนนพกาญจน์th_TH
dc.contributor.coadvisorประชิด วามานนท์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม10.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons