Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6379
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สังข์ศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญเลิศ ส่องสว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอาชัญญา รัตนอุบล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา พนมชัยสว่าง, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T07:00:10Z-
dc.date.available2023-06-13T07:00:10Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6379-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพ และปัญหาในการจัดห้องสมุดประชาชนใน จังหวัดกาญจนบุรี (2) เพื่อศึกษาความต้องการของประชาชนต่อแนวทางการจัดห้องสมุดประชาชนใน จังหวัดกาญจนบุรี (3) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด และอำเภอ และบรรณารักษ์ ต่อแนวทางการจัดห้องสมุดประชาชนในจังหวัดกาญจนบุรี (4) เพี่อนำเสนอรูปแบบ การจัดห้องสมุดประชาชนเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชาชนผู้ใชับริการห้องสมุด 384 คน ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด 1 คน และอำเภอ 13 คน และบรรณารักษ์ 13 คน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามสำหรับแฅ่ละกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างทุกกลุ่มระบุว่าสภาพปัจจุบันของห้องสมุดประชาชนใน จังหวัดกาญจนบุรี ในทุกด้าน เช่น ด้านอาคารสถานที่ ด้านครุภัณฑ์ห้องสมุด ด้านบริการ และด้านกิจกรรม มีความ เหมาะสม ในรฺะดับมาก ส่วนปัญหาที่พบมาก ได้แก่ โต๊ะ-เก้าอี้ใม่เพียงพอต่อการให้บริการ อาคารห้องสมุดมี ขนาดเล็กคับแคบเกินไป ขาดการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมห้องสมุด (2) ประชาชนระบุความต้องการใน ระดับมาก ต่อแนวทางในการพัฒนาองค์ประกอบทุกๆ ด้านของสมุดประชาชน เพี่อให้เป็นห้องสมุดที่ส่งเสริม การศึกษาตามอัธยาศัย (3) ความคิดเห็นของผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด และอำเภอ และบรรณารักษ์ ต่อแนวทางการจัดห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย เห็นด้วยในระดับมากในทุกด้าน (4) รูปแบบการจัดห้องสมุดประชาชาชนในจังหจัดกาญจนบุรี เพี่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ ด้านอาคารสถานที่ ด้านครุภัณฑ์ห้องสมุด ด้านการบริหารจัดการ ด้านวัสดุสิ่งพิมพ์ ด้านวัสดุไม่ใช่สิ่งพิมพ์ด้านบริการ และ ด้านกิจกรรม ในส่วนของการบริการและ กิจกรรมจะเน้นสิ่งต่อไปนี้ บริการคอมพิวเตอร์เพี่อการสืบค้นข้อมูลข่าวสาร มุมห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ให้บริการ CD-Rom VCD DVD และ VDO ในเนื้อหาที่ประชาชนต้องการ เช่น เรื่องเกี่ยวกับอาชีพ เกี่ยวกับ เทคโนโลยีทางการเกษตร กิจกรรมวันสำคัญต่างๆ ทางศาสนาประเพณีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.46en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectห้องสมุดประชาชน -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการจัดหาทรัพยากรห้องสมุดth_TH
dc.subjectการศึกษาตามอัธยาศัยth_TH
dc.titleรูปแบบการจัดห้องสมุดประชาชนเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeProposed model of organizing public libraries for enhancing informal education : a case of Kanchanaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposed of this research were (1) to study present situation and problems of operating the public libraries in Kanchanaburi Province; (2) to identify The needs of people for guidelines for operating the public libraries in Kanchanaburi province; (3) to study the opinions of the Directors of Non-formal and Informal Eduaction Centres at a provincial and district levels toward guidelines for operating Public libraries in Kanchanaburi province; and (4) to propose a model of operating public libraries for enhancing informal education in Kanchanaburi province. The samples of the study consisted of (1) 384 clients of district public Libraries, director of provincial and 13 directors of district Non-formal and Informal education centers and (3) 13 Librarians Each set of questionnaires was employed for data collecting for each group of the samples. The data were analyses by frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. Research findings revealed that (1) every group of the samples reported the high level of overall satisfaction with every aspect of the public libraries (eg.location, facilities, services and activities available). However, some problems Still be stated such as not enough tables and chairs for reading, a building was rather small and the publicity of available activities was not yet wide spresaded; (2) libraries clients expressed their needs at a high level for guidelines for improving every aspect of the public libraries to enhance informal education, (3) The opinions of the director of provincial and the directors of district Non-formal and Informal Education centred to wards guidelines for improving every aspect of the public Libraries were at a high level; and (4) A proposed model of the public libraries which Enhancing informal education consisted of 7 aspects: location and building? facilities, and activition, types of printed materials, types of non-printed materials, services, and activities. The services and activities which should be provided included: And activities. The searching information, e-library comer, and providing CD- ROM, VCD, DVD and Vedio which included the contents that people needed eg. vocational subjects, agriculture technology, activities of the important days of religious and cultureen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
123933.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons