Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6388
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมาลี สังข์ศรี | th_TH |
dc.contributor.author | วิเชียร โยมา, 2497- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T07:46:09Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T07:46:09Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6388 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัฅถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพ และปัญหาการดำเนินงานการจัดศูนย์การเรียนชุมชน ในเขตลาดกระบัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านอาคารสถานที่ (2) เพื่อศึกษาความคิดเห็น/ความต้องการของผู้รับบริการ บุคลากรการศึกษานอกโรงเรียน และบุคลากรในเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกโรงเรียน ในเขตลาดกระบัง ต่อรูปแบบการดำเนินงานการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในเขตลาดกระบัง (3) เพื่อพัฒนาและเสนอรูปแบบ ศูนย์การเรียนชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวตในเขตลาดกระบังในการ วิจัยครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างรวม 326 คน ประกอบด้วย บุคลากรการศึกษานอกโรงเรียนใน พื้นที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร 419 คน บุคลากรในเครือข่ายที่เกี่ยวของกับการศึกษานอกโรงเรียนในเขตลาดกระบัง 57 คน ผู้รับบริการการศึกษานอกโรงเรียนในเขตลาดกระบัง 250 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนี้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพ และปัญหาการดำเนินงานการจัดศูนย์การเรียนชุมชนในเขตลาดกระบัง ด้านการบริหารจัดการ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านอาคารสถานที่ ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนระดับการปฎิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ระดับปัญหาอยู่ไนระดับน้อย (2) ความคิดเห็น/ความต้องการของ ผู้รับบริการ บุคลากรการศึกษาและบุคลากรในเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกโรงเรียนในเขตลาดกระบัง ต่อรูปแบบการดำเนินงานการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในเขตลาดกระบัง ด้านการบริหารจัดการ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านอาคารสถานที่ ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน มีความคิดเห็น/ความต้องการทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) รูปแบบศูนย์การเรียนชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในเขตลาด กระบังวิเคราะห์โดยเนื้อหาพบว่า ด้านการบริหารจัดการ ควรมีการอบรมครูศูนย์การเรียนชุมชมได้เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฎิบัติในการจัดทำแผน/โครงการ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ควรให้มีการดำเนินการจัดการศึกษาสายสามัญทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และการสอนวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น ด้านอาคารสถานที่ ศูนย์การเรียนชุมชนควรอยู่ในแหล่งชุมชน และภายในศูนย์การเรียนชุมชนมีพื้นที่สำหรับการติดต่อและบริการ ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผน และจัดลำดับความต้องการและปัญหาของชุมชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.47 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาต่อเนื่อง | th_TH |
dc.subject | ศูนย์การเรียนชุมชน | th_TH |
dc.title | รูปแบบศูนย์การเรียนชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Proposed model of community learning center for promoting lifelong learning in Lat Krabang District, Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were to (1) study the operational problems As administration and management, As to activity and instructional provision, As to location of the community learning center, As to participation (2) study need and opinion of satisfaction, nonformal education administrators, community learning center tecachers, and network of nonoformal education was for model of the community learning centers for promoting lifelong learning in Lat krabng District (3) development and present a proposed model of the community learning centers for promoting lifelong learning in Lat krabng District. The samples of community learning center learning center in non-formal education in Bangkok. Data were collected from the total of 326 community learning center personnel consisting of 19 nonformal education administrators, 57 personnel of network in non-formal education center education and 250 of satisfaction in non-formal education Lat krabang District. The tools used are the average value questionnaires. The data analysis is done by showing the frequency, percentage, mean, standard division and the content Analysis. The Result as follow ะ (1) The operational problems As the administration and management As to activity and instructional provision As to location of the community learning center As to participation in the overall picture, reveals is at average level problem at a little level. (2) The needs / opinion of satisfaction , nonformal education administrators, community learning center teachers, and network of nonformal education for model of the community learning centers for promoting lifelong learning in Lat krabang District. As administration and management, As to activity and instructional provision, As to location of the community learning center, As to participation all of in the overall picture, reveals is high level (3) The development and a proposed Model of community learning center for promoting lifelong learning in Lat Krabang District as analyzed by content analysis, the following recommandations were proposed: As administration and management should be training community learning center teachers about guidelines plan and project, As to activity and instructional provision should be basic education.The centre may organize basic education-ranging from primary education to upper-secondary education levels; and vocational/career education is organized as short- course skills training, As to location of the community learning center should be on middle community , As to participation should be participation for plan of problem and needs community. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมประสงค์ วิทยเกียรติ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ชลทิตย์ เอี่ยมสำอางค์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
124277.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License