Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกลํ่า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ สุขขุม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T07:47:25Z-
dc.date.available2023-06-13T07:47:25Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6389-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (1) การบริหารจัดการด้านการอำนวย ความสะดวกและการให้บริการประชาชนระหว่างเทศบาลตำบลแหลมฉบังกับเทศบาลตำบลบางพระใน จังหวัดชลบุรี (2) ปัญหาการบริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกและการให้บริการประชาชนระหว่างเทศบาลตำบลแหลมฉบังกับเทศบาลตำบลบางพระในจังหวัดชลบุรี (3) แนวทางการพัฒนาการ บริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกและการให้บริการประชาชนระหว่างเทศบาลตำบลแหลมฉบัง กับเทศบาลตำบลบางพระในจังหวัดชลบุรี ทั้งนี้ได้นำการบริหารจัดการตามแนวทางการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองของหน่วยงาน มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามชึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการ หาค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.87 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พนักงาน เทศบาลทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ รวมทั้งประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่ของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง รวม 1,259 คน สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2551 ถึง วันที่ 10 กันยายน 2551 เก็บแบบสอบถามกลับคืนได้ 1,078 ชุด คิดเป็นร้อยละ 85.62 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใซัคือ ค่าร้อยละ คำเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า (1) เทศบาลทั้ง 2 แห่ง ลัวน เห็นด้วยในระดับมาก ว่า ในภาพรวม เทศบาลทั้ง 2 แห่ง มีประสิทธิภาพสูงในการบริหารจัดการด้านการ อำนวยความสะดวกและการให้บริการประชาชน ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของ หน่วยงาน ทั้ง 4 ด้าน (2) ปัญหาที่สำคัญของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง คือ การลดระยะเวลาหรือขั้นตอนการ ปฏิบัติราชการที่ไม่ช้าเกิน รวมทั้งการดำเนินงานตามโครงการสำคัญยังไม่ประสบผลสำเร็จ และ (3) แนว ทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกและการให้บริการประชาชน ที่สำคัญคือ เทศบาลทั้ง 2 แห่ง ควรเน้นการลดระยะเวลาหรือขั้นตอนการปฏิบัติราชการที่ไม่จำเป็นและควรสนับสนุน การประเมินผลการปฏิบัติราชการโดยหน่วยงานภายนอกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.296-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลแหลมฉบัง--การบริหาร.--ชลบุรีth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลบางพระ--การบริหาร.--ชลบุรีth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการบริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกและการให้บริการประชาชนระหว่างเทศบาลตำบลแหลมฉบังกับเทศบาลตำบลบางพระในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe comparison of management administration in terms of facilitating and serving the people between the Laemchabang and Bangphra Subdistrict Municipalities in Chonburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.296-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to comparatively study (1) management administration in terms of facilitating and serving the people between the Laemchabang and Bangphra Subdistrict Municipalities in Chonburi Province, (2) problems of management administration in terms of facilitating and serving the people between the Laemchabang and Bangphra Subdistrict Municipalities in Chonburi Province, and (3) development guidelines of management administration in terms of facilitating and serving the people between the Laemchabang and Bangphra Subdistrict Municipalities in Chonburi Province. The management administration according to the Performance Agreement of Agency was applied as conceptual framework of this comparative study. This study was a survey research using questionnaires which passed pre-test including the checks of validity and reliability of the questionnaires at 0.87 level. The sample groups of 1,259 were the political and permanent municipality officials as well as the people in areas of the 2 municipalities. The field data was collected during August I, 2551 to September 10, 2551. The 1,078 sets of questionnaire were collected, equal to 85.62% of the total samples. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The comparative study results showed the opinions of the samples that (1) both municipalities agreed at the high level that the overview of management administration efficiencies in terms of facilitating and serving the people according to the Performance Agreement of Agency of 4 factors were high; (2) the important problems of both municipalities were the failures of reduction unnecessary time or steps of performance including the major project procedures; and (3) the important development guidelines of management administration in terms of facilitating and serving the people were the both municipalities’ concentration on reduction of unnecessary' time or steps of official performance and supporting the evaluation of official performance by the external agencyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110003.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons