Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/638
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิโรจน์ แก้วเรือง | - |
dc.contributor.author | ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ | - |
dc.contributor.author | วรางคณา โตโพธิ์ไทย | - |
dc.contributor.author | สาโรช โศภีรักข์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T11:17:50Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T11:17:50Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2563), หน้า 43-57 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/638 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนศึกษา และระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ดังกล่าวที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพ 81.45/79.83 81.45/80.48 และ 82.09/79.03 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 นักเรียนที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อแอปพลิเคชันดังกล่าว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an application on android operating system in the topic of basic data communications and computer network for vocational diploma students in Suphan Buri Vocational College | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to develop an application on the Android Operating System in the topic of data communications and computer network for vocational diploma students in Suphan Buri Vocational College on the pre-determined efficiency criterion, to study the learning progress and the opinions of vocational diploma students who learned from the developed Android application. The research sample consisted of 40 vocational diploma students studying in the business computer program at Suphan Buri Vocational College, obtained by cluster random sampling. Research instruments comprised an application on the Android Operating System in the topic of data communications and computer network, two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing, and a questionnaire on student's opinions toward the application on the Android Operating System. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that the application on the Android Operating System in the topic of data communications and computer network was efficient at 81.45/79.83 81.45/80.48 and 82.09/79.03, thus meeting the set efficiency criterion of 80/80. The students made significant progress in learning from the developed application at the .05 level. Moreover, the students had opinions that the application was appropriate at the high level | en_US |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License