Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมพร หวานเสร็จ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชุดา โชคภูเขียว, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T08:05:14Z-
dc.date.available2023-06-13T08:05:14Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6393-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีสำหรับโรงเรียนแกนนา จัดการเรียนร่วมในจังหวัดเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีสำหรับโรงเรียนแกนนา จัดการเรียนร่วมในจังหวัดเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรก คือ การพัฒนาตัวชี้วัด โดยการศึกษาแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่สอง คือ การตรวจสอบคุณภาพตัวชี้วัด เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบสอบถาม ลักษณะมาตรประมาณค่า 5 ระดับ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนแกนนา จัดการเรียนร่วมในจังหวัดเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จานวน 550 คน จากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และค่าสถิติวัดระดับความกลมกลืนจากการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัย พบว่า (1) ได้ตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีสำหรับโรงเรียนแกนนา จัดการเรียนร่วมในจังหวัดเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จานวน 57 ตัวชี้วัด ครอบคลุมองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน ได้แก่ ด้านนักเรียน 8 ตัวชี้วัด ด้านสภาพแวดล้อม 14 ตัวชี้วัด ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 19 ตัวชี้วัด และด้านเครื่องมือ 16 ตัวชี้วัด (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพตัวชี้วัด พบว่า มีค่าความตรง ระหว่าง .62 - 1.00 ค่าความเที่ยง เท่ากับ .98 ผลการทดสอบความสอดคล้องของโมเดลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยเรียงลำดับความสำคัญขององค์ประกอบหลักจากมากไปน้อย คือ องค์ประกอบหลักด้านกิจกรรมการเรียนการสอน องค์ประกอบหลักด้านเครื่องมือ องค์ประกอบหลักด้านสภาพแวดล้อม และองค์ประกอบหลักด้านนักเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 -- การบริหารth_TH
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีสำหรับโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมในจังหวัดเครือข่ายของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9th_TH
dc.title.alternativeDevelopmet pilot Inclusive Management Schools in Network Provinces of Special Education Center Region 9th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop good governance indicators for Pilot Inclusive Management Schools in Network Provinces of Special Education Center Region 9, and (2) to test the quality of good governance indicators for Pilot Inclusive Management Schools in Network Provinces of Special Education Center Region 9. The research was divided into two phases as follows: Phase I was developing good governance indicators for Pilot Inclusive Management Schools by studying the conceptual framework and related research, and in-depth interview with specialists, and Phase II was testing the quality of good governance indicators. The instruments used in the research were the interview form and the 5-level rating scale questionnaire. The sample consisted of 550 directors of Pilot Inclusive Management Schools in Network Provinces of Special Education Center Region 9 by using stratified random sampling. Data were analyzed by content analysis, percentage, mean, correlation coefficient, and the goodness of fit statistics from factor analysis. The results were as follows: (1) The 57 good governance indicators for Pilot Inclusive Management Schools in Network Provinces of Special Education Center Region 9 were acquired. They covered four main elements: Student consisted of 8 indicators, environment consisted of 14 indicators, instructional activities consisted of 19 indicators, and tool consisted of 16 indicators. (2) The results of testing the quality indicator were found that the validity value ranged between .62 and 1.00, and a reliability value of 0.98. The results of testing the consistency of the model by confirmatory factor analysis showed that it was consistent with the empirical data. The importance of main elements was ranked from the highest to the lowest as follows: Instructional activities, tools, environment, and studentsen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124336.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons