Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/639
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ไพทยวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสาวภา ไพทยวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิรพันธ์ ไตรทิพจรัส, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชาย มนูจันทรัถ, 2499--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-16T11:23:12Z-
dc.date.available2022-08-16T11:23:12Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/639-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของประเพณีกินผักของบรรพบุรุษชาวจีนฮกเกี้ยนในจังหวัดภูเก็ต (2) ศึกษาการสืบสานประเพณีกินผักของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดภูเก็ต (3) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของประเพณีกินผักในจังหวัดภูเก็ตที่ปรากฏในปัจจุบัน โดยใช้ศาลเจัาจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง ซึ่งเป็นศาลเจ้าเก่าแก่ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีเป็นสนามวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสารหลักฐานต่างๆ การสัมภาษณ์เจาะลึก และการจัดสนทนากลุ่ม พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และใช้อุปกรณ์เสริมในการบันทึกข้อมูล ชื่งผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน ประกอบด้วยผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ทางด้านพิธีกรรม ผู้สุงอายุ ม้าทรง กรรมการจัดงานประเพณีกินผักของศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง รวมทั้งกรรมการมูลนิธิจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง ผลการวิจัยพบว่าประเพณีกินผักในวันที่ 1 ถึงวันที่ 9 เดึอน 9 ตามปีจันทรคติจีนของบรรพบุรุษชาวจีนฮกเกี้ยนในจังหวัดภูเก็ตถือกำเนิดขึ้นราวปี พ.ศ.2372-2445 โดยกลุ่มอั้งยี่ได้นำเอาพิธีกรรมของชาวคณะงิ้วจีนแต้จิ๋วที่ได้เปิดแสดงในเมึองภูเก็ตขณะนั้น มาปรับเปลี่ยนให้เป็นเครื่องมึอในการรำลึกถึงราชวงศ์หมิง พรัอมกับการแสดงออกซึ่งอารยธรรมของชนชาวจีนเพื่อสร้างสังคมกลุ่มชาวจีนอพยพให้เป็นเอกภาพ โดยการบูชาองค์กิ๋วอ๋องไต่เต่ทั้งในฐานะสมมุติกษัตริย์เชื้อสายชาวฮั่นและเทพเจ้าประจำดวงดาวตามความเชื่อทางศาสนาภายในศาลเจ้าเต้าโบ้เก้งที่จัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ และชาวไทยเชื่อสายจีนในจังหวัดภูเก็ตได้สืบสานประเพณีกินผักต่อๆ กันมาตามภาระหน้าที่ผ่านกระบวนการทางสังคม โดยผู้เข้าร่วมงานประเพณีต่างยึดหลักในการปฏิบัติตนให้สะอาดทั้งกายและใจส่วนการจัดงานประเพณีกินผักของศาลเจ้า ยึดหลักการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการจัดงานและการประกอบพิธีกรรมตามหลักเหตุผลความเชื่อทางศาสนา ชื่งปัจจุบันรูปแบบการจัดงานประเพณีกินผักในจังหวัดภูเก็ตได้เปลี่ยนแปลงไป สะท้อนถึงแนวความคิด ความเชื่อ ของผู้คนที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย โดยปรากฏการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นในงานประเพณีกินผักของศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเด้าโบ้เกัง คือการเปลี่ยนโครงสรัางองค์กร และโครงสรัางพิธีกรรมให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของผู้คนจำนวนมาก ชื่งภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนชี้นำและเกื้อหนุน แต่ทิศทางการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของชุมชน และกลุ่มผู้นำภายในศาลเจ้าเป็นสำคัญ ทั้งนี้สังคมควรตระหนักถึงคุณค่าด้านจิตใจ และด้านสุขภาพอนามัยที่ได้รับจากประเพณีกินผัก โดยไม่ยึดติดอยู่กับเรื่องอิทธิฤทธิ์อภินิหาร และควรสรัางความสมดุลของการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประเพณีกินผักth_TH
dc.subjectความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.titleปรากฎการณ์ใหม่ของประเพณีกินผักในจังหวัดภูเก็ต : กรณีศึกษาศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้งth_TH
dc.title.alternativeThe new phenomenon of vegetarian custom in Phuket : a case study of Jui Tui Tao Bo Keang Chinese Templeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) explain the history and the purposes of the vegetarian custom of the Hokkien Chinese ancestors in Phuket; (2) study the continuous practice of the vegetarian custom of the Thai-Chinese in Phuket; and (3) identify the changes in the vegetarian custom using the recognized Jui Tui Tao Bo Keang Chinese Temple as a case study. This qualitative research employed four approaches to collect data- document studies, in-depth interviews, focus group interviews, and participatory observations using a device to record the data. There were 26 key informants who were experts that were knowledgeable of the custom rituals, elders, the Chinese Temple’s boards, the custom’s committee, and the entranced devotees known as “Ma Song.” Results from the study showed that: The Phuket Vegetarian Custom is held from the first to the ninth day during the ninth lunar month of the Chinese calendar. The custom was first held by the Hokkien Chinese in Phuket in 1829 continued until 1902. “Angyee,” a Chinese secret society in Phuket, customized the rituals of the Teochew Chinese opera group, who performed at that time, and used them to commemorate the Ming Dynasty as well as to communicate their Chinese civilization, and in order to form a united Chinese immigrant society. Following religious beliefs, the Hokkien Chinese worshipped “Kew Ong Tai Tay,” the Han Chinese deity and God of the Stars, at the Tao Bo Keang Chinese Temple, which was specifically established to serve this belief. The Thai-Chinese in Phuket have continuously practiced the vegetarian custom as an obligation and societal process by following the custom principles of purity of mind and body. The custom at the Tao Bo Keang Chinese Temple was developed by the custom committee to encourage the practice of rituals respecting religious beliefs, The custom arrangements have changed reflecting the changes in people’s thoughts and beliefs as time passes. The new phenomenon at Jui Tui Tao Bo Keang Chinese Temple was that the structure changed of its organization and ritualร changed to allow the added participation of a large amount of people with public and local administrative organizational support and guidance, The decisions of the community and the leaders of the Chinese temple were the most important factor influencing the direction of the change. The community should be encouraged to appreciate the value of mind and health which are received from the vegetarian custom, not just the miracle power. Also, well-balanced changes should be created to serve the trend of globalizationen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (3).pdfเอกสารฉบับเต็ม10.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons