Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา วัธนสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภนันท์ พหุธนพล, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-14T01:15:30Z-
dc.date.available2023-06-14T01:15:30Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6411-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุปะสงค์เพื่อ (1) พัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ (2) ตรวจสอบตัวบ่งชี้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาเครื่องมือ จำนวน 7 คน และผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวบ่งชี้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามปลายเปิด และ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) มิติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านมี 3 มิติ รวม 96 ตัวบ่งชี้ คือ มิติที่ 1 : สถาบันครอบครัว มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การดูแลเอาใจใส่และให้ความรู้ของผู้ปกครอง 15 ตัวบ่งชี้ การเป็นตัวแบบของผู้ปกครอง 5 ตัวบ่งชี้ การเสริมแรงของผู้ปกครอง 9 ตัวบ่งชี้ การจัด สภาพแวดล้อมของผู้ปกครอง 5 ตัวบ่งชี้ มิติที่ 2 : สถาบันการศึกษา มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การให้ ความรู้และพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียน 7 ตัวบ่งชี้ การจัดกิจกรรม 12 ตัวบ่งชี้ การเป็นตัวแบบ 6 ตัวบ่งชี้ การเสริมแรง 7 ตัวบ่งชี้ การจัดสภาพแวดล้อม 7 ตัวบ่งชี้ และ นโยบายของสถานศึกษา 14 ตัวบ่งชี้ มิติที่ 3 : ความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา มีองค์ประกอบ เดียว คือ ความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา ประกอบด้วย 9 ตัวบ่งชี้ และ (2) ตัวบ่งชี้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่พัฒนาขึ้นมี คุณภาพเหมาะสมตามเกณฑ์ ในระดับมากถึงมากที่สุด โดยมีค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ระหว่าง 0.00 - 1.00th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.57en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมการอ่านth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- การอ่านth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of indicators to enhance the love of reading habit for lower secondary school studentsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop the indicators to enhance the love of reading habit for lower secondary school students; and (2) verify the quality of the indicators to enhance the love of reading habit for lower secondary school students. The research sample consisted of a group of 7 experts who reviewed the validity of the data collecting instrument and a group of 17 specialists who provided data through Delphi technique on indicators to enhance the love of reading habit for lower secondary school students. Research instruments were an interview form, an open-ended questionnaire and a rating scale questionnaire. Data was analyzed using the IOC index, median, inter-quartile range, and content analysis. Research findings revealed that 1) the enhancement of the love of reading habit was composed of three dimensions with the total of 96 indicators. The first dimension was the Home with four components, namely, the loving-care and knowledge provision of parents, with 15 indicators; the parents being a good model, with five indicators; the reinforcement by parents, with nine indicators; and the setting of home environment by parents, with five indicators. The second dimension was the School with six components, namely, the knowledge transmission and development of student’s reading skill, with seven indicators; the organization of activities, with 12 indicators; the teachers being a good model, with six indicators; the reinforcement, with seven indicators; the setting of school environment, with seven indicators; and the school policy, with 14 indicators. The third dimension was the Home-School Cooperation with only one component, that is, the cooperation between the home and the school, with nine indicators. and 2) The quality of all developed indicators to enhance the love of reading habit for lower secondary school students was appropriate based on the criteria at the high to highest levels with the values of inter quartile range between 0.00 – 1.00en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125486.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons