Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกลํ่า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชญา ติ๊บประวงศ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-14T03:35:58Z-
dc.date.available2023-06-14T03:35:58Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6414-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา (1) ความพร้อมในการบริหารจัดการ ด้านการใช้บริการประชาชนของกรมศุลกากร (2) ปัญหาความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการ ให้บริการประชาชนของกรมศุลกากร และ (3) แนวทางการพัฒนาความพร้อมในการบริหารจัดการ ด้านการใช้บริการประชาชนของกรมศุลกากร โดยนำการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้ง การหาค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.87 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการกรมศุลกากร รวม 1,582 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กันยายน ถึง วันที่ 30 กันยายน 2551 เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 1,511 คน คิดเป็นร้อยละ 95.51 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ในส่วนของค่าสถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฎว่ากลุ่มตัวอย่าง (1) เห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่ากรมศุลกากร มีความพร้อมสูงในการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชน ตามแนวทางการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ทั้ง 7 ด้าน (2) เห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า ปัญหาที่สำคัญคือ การที่กรมศุลกากรนำ เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย มาใช้ในการให้บริการประชาชนโดยไม่ พิจารณาถึงความรู้ความสามารถของข้าราชการผู้ปฏิบัติงาน และ (3) เห็นด้วยในระดับมาก ว่า แนวทางการพัฒนาความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชน ที่สำคัญคือ กรม ศุลกากรควรให้ความสำคัญกับการวางแผนในเรื่องการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ให้เหมาะสม รวมทั้งการฝึกอบรมข้าราชการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีนั้นด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.285-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมศุลกากร--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ--ไทยth_TH
dc.titleความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของกรมศุลกากรตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีth_TH
dc.title.alternativeThe readiness of management administration with regard to people services of the Customs Department according to the good governance guidelineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.285-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study (1) the readiness of management administration regarding people services of the Customs Department, (2) problems of management administration regarding people services of the Customs Department, and (3) the development guidelines of management administration readiness regarding people services of the Customs Department. The management administration approach according to the Good Governance Guideline was applied as conceptual framework of this study. This study was a survey research using questionnaires which were pre-tested and checked for validity and reliability, with 0.87 level of reliability. Samples consisted of 1,582 officials of the Customs Department. Field data collection was conducted during September 1-30, 2008, of which 1,511 or 95.51 percent questionnaires were retrieved. Statistical tools employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The study results indicated that the samples (1) agreed at medium level that the Customs Department had high readiness of management administration with regard to people services according to the 7 principles of Good Government Guideline; (2) agreed at medium level that the vital problem was the Customs Department applied high technologies such as computer and network system in people services without considering the limitation of officials’ knowledge and abilities; (3) agreed at high level that the vital development guideline of management administration readiness regarding people services Was the Customs Department should concentrate on planning in terms of applying high technologies in an appropriate way and also on providing training for government officials to increase their knowledge and skill in applying high technologies to their jobsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110012.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons