Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6442
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริวรรณ ชูแก้ว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-15T03:44:54Z | - |
dc.date.available | 2023-06-15T03:44:54Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6442 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจของบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการของเสียตามมาตรฐานของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการ จัดการของเสียตามมาตรฐานของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (3) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการของเสียตามมาตรฐานของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (4) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการของเสียตามมาตรฐานของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (5) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการของเสียตามมาตรฐานของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน กลุ่มตัวอย่างทึ่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอินจำนวน 400 คน เครื่องมีอทึ่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติทึ่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยวิธีแอลเอสดี ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอินมีความรู้ความเข้าใจมากที่สุดในประเด็นที่เกี่ยวกับความหมายของการบำบัดน้ำเสีย ส่วนประเด็นที่บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจน้อยที่สุด คือ ประโยชน์ของใบกำกับการขนส่ง (2) ความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการของเสีย ทั้งด้านการสื่อสาร การมีส่วนร่วม และแนวทางการจัดการของเสียของหน่วยงานในนิคม พบว่าอยู่ในระดับมาก (3) บุคลากรที่ทำงานในหน่วยงานอุตสาหกรรมประเภทสิ่งทอ/เครื่องหนัง/เฟอร์นิเจอร์มีความรู้ความเข้าใจด้าน การจัดการของเสียตามมาตรฐานของการนิคมอุตสาหกรรมบางปะอินมากกว่าบุคลากรในอุตสาหกรรมประเภทอื่น (4) บุคลากรทีมีการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีมีระดับความคิดเห็นในด้านการสื่อสารข้อมูลภายใน องค์กร การมีส่วนร่วมและด้านแนวทางการจัดการของเสียสูงกว่าพนักงานที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี โดยบุคลากรที่ทำงานในอุตสาหกรรมเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการจัดการของเสียในระดับต่ำกว่าบุคลากรในอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ (5) ในส่วนของข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการของเสีย แยกใด้เป็น 3 ด้านดั้งนี้ ด้านการสื่อสาร หน่วยงานอุตสาหกรรมในนิคมควรจัดทำข้อกำหนดต่างๆ ให้มีความชัดเจนเข้าใจง่าย ด้านการมีส่วนร่วม ควรส่งเสริมให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการของเสียโดยร่วมรณรงค์ให้ทิ้งขยะน้อยลง ด้านแนวทางการจัดการของเสีย หน่วยงานอุตสาหกรรมในนิคมควรมีการจัดการด้านมลภาวะทางอากาศควบคู่ไปด้วยกับการจัดการของเสียด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน--การกำจัดของเสีย | th_TH |
dc.subject | การจัดการของเสีย--ไทย | th_TH |
dc.title | การจัดการของเสียตามมาตรฐานของการนิคมอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน | th_TH |
dc.title.alternative | Waste management according to industrial estate authority standard in Bangpa-in Industrial Estate | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) study the Knowledge and understanding of industrial personnel in waste management standards of Bang Pa-in industrial estate; (2) study the opinion of industrial personnel on waste management of the industries according to Bang Pa-in industrial estate standard; (3) compare the Knowledge and understanding of industrial personnel in waste management of the industries according to Bang Pa-in industrial estate standard; and (4) compare the opinion of industrial personnel on waste management of the industries according to Bang Pa-in industrial estate standard (5) study the suggestion of industrial personnel on waste management of the industries according to Bang Pa-in industrial estate standard. Sample were 400 industrial personnel in Bang Pa-in industrial Estate. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard division, t-test, F-test and ANOVA least significant difference method or LSD. Research results revealed that (1) knowledge and understanding of industrial personnel in waste management were mostly on the meaning of waste water cure, the issue they had least knowledge and understanding was the usefulness of transportation invoice (2) opinions of industrial personnel on waste management of the industries including communication, participation, and waste management approach, was at the high level; (3) when compared knowledge and understanding of personnel in different industries, it was found that personnel in textile/leather/furniture industries had more knowledge and understanding in waste management than personnel in other industries; (4) opinion of personnel with education background higher than bachelor degree on communication, participation and waste management approach was in lower level when compared with opinion of personnel with lower education background; opinion of personnel in electronics industries on communication, participation and waste management approach was in lower level when compared with opinion of personnel in other industries; and (5) suggestions on waste management were categorized in 3 aspects : communication aspect: regulations on waste management of the industrial organizations should be clear and easy to understand; participation aspects: employee participation should be encouraged using garbage reducing campaign; as for waste management aspect: the industrial organizations should put emphasis on air pollution management together with the management of industrial waste. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
110015.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License