Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรทรัพย์ ชื่นในเมือง, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T01:45:53Z-
dc.date.available2023-06-16T01:45:53Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6453-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลการพัฒนาพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ ของกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามหลักการของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม และ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักการของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2โรงเรียนสตรีราชินูทิศ จังหวัดอุดรธานี ปีการศึกษา 2553 ที่ได้รับการประเมินจากครูประจำชั้นว่าควรได้รับการพัฒนาจิตสาธารณะ จำนวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลอง ผู้วิจัยดำเนินการกับกลุ่มทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตาม หลักการของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ50 นาที เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามหลักการของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (2) แบบวัด พฤติกรรมการมีจิตสาธารณะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยงเท่ากับ.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามหลักการของทฤษฎี พฤติกรรมนิยม นักเรียนกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม ดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการทดลองนักเรียนที่ได้รับการฝึก ด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวตามหลักการของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมีจิตสาธารณะโดยแยกตามราย องค์ประกอบของจิตสาธารณะ 3 องค์ประกอบ สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.297en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมการช่วยเหลือในเด็กth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- เครื่องมือth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดพฤติกรรมนิยมที่มีต่อการพัฒนาพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีราชินูทิศจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package based on the behaviorism theory on public mindedness behaviors of Mathayom Suksa II Students at Satri Rachinuthit School in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the effects of public mindedness behavior development of the experimental group using a guidance activities package based on the Behaviorism Theory; and (2) to compare the public mindedness behaviors of the experimental group prior to and after using the guidance activities package based on the Behaviorism Theory. The subjects were 30 Mathayom Suksa II Students of Satri Rachinuthit School in Udon Thani province who were evaluated by the homeroom teacher that their public mindedness behavior needed further development. This group of students was assigned as the experimental group to be trained with a guidance activities package, developed by the researcher, for 12 periods each of which taking 50 minutes. The employed research instruments were (1) a guidance activities package based on the Behaviorism Theory, (2) a public mindedness behavior assessment scale developed by the researcher with reliability coefficient of .86. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were (1) after using the guidance activities package based on the Behaviorism Theory, the experimental group students’ public mindedness behaviors were significantly at the higher level than their counterpart behaviors before using the package at the .05 level; and sgained higher public mined change at the .05 level; and (2) after the experiment, the experimental group students’ public mindedness behaviors in all of the three components significantly increased at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125698.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons