Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทนา บรรณทอง, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T07:57:28Z-
dc.date.available2023-06-16T07:57:28Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6469-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความฉลาดทางอารมณ์ของพ่อแม่ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ และ (2) เปรียบเทียบระดับความฉลาดทางอารมณ์ของพ่อแม่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นพ่อแม่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จังหวัด ชัยนาท ปีการศึกษา 2553 ได้มาจากการให้นักเรียนตอบแบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดูที่มีผลต่อความ ฉลาดทางอารมณ์ของเด็กวัยรุ่นตอนต้น แล้วระบุนักเรียนที่มีคะแนนต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 ลงมา จำนวน 40 คน พ่อแม่ของนักเรียน 40 คนนี้ถือว่าเป็นผู้มีความฉลาดทางอารมณ์ต่ำ ต่อจากนั้นสุ่มอย่าง ง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน พ่อแม่ของนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการฝึกอบรม โดยชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ขณะที่พ่อแม่ของนักเรียนกลุ่มควบคุม ดู VCD เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย (1) ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (2) VCD เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ และ (3) แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .77 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) พ่อแม่ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เข้ารับการฝึกอบรมทาง การแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ มีระดับความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 และ (2) พ่อแม่ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เข้ารับการฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ มีระดับความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าพ่อแม่ของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ดู VCD เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.55en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดอบรมทางการแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของพ่อแม่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance training package to develop emotional intelligence of Mathayom Suksa III students' parents at Chainat Phittayakhom School in Chainat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of emotional intelligence of parents of Mathayom Suksa III students before and after being trained by a guidance training package to develop emotional intelligence; and (2) to compare the levels of emotional intelligence of parents of Mathayom Suksa III students in the experimental group and control group after the experiment. The sample consisted of parents of 40 Mathayom Suksa III students at Chainat Phittayakhom School in Chainat Province in the 2010 academic year. The procedure for obtaining the sample was as follows: At first, a number of Mathayom Suksa III students were asked to answer a questionnaire on the pattern affecting emotional intelligence of adolescent. After that, whose questionnaire scores were below the 25th percentile 40 students of rearing were identified. The parents of these 40 students were considered to be the members of the research sample. They were randomly divided into experimental and control group, each of which comprised 20 parents. Parents in the experimental group were trained with a guidance training package to develop emotional intelligence, while those in the control group were asked to watch the VCD on emotional intelligence. The employed research instruments were (1) a guidance training package to developing emotional intelligence; (2) a VCD on emotional intelligence; and (3) an emotional intelligence assessment scale with reliability coefficient of .77. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the emotional intelligence level of parents in the experimental group increased significantly at the .01 level after being trained with the guidance training package to develop emotional intelligence; and (2) the emotional intelligence level of parents in the experimental group who were trained with the guidance training package was significantly higher than that of parents in the control group who watched the VCD on emotional intelligence at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128222.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons