กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/647
ชื่อเรื่อง: แนวคิดธัมมิกสังคมนิยมของท่านพุทธทาสภิกขุกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The dharmic socialism of buddhadasa bhikkhu and the development of democracy in Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: รุ้งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษา
รสลิน ศิริยะพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา
สมคิด คำบอน, 2515-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์
ศาสนากับการเมือง
วันที่เผยแพร่: 2552
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิดธัมมิกสังคมนิยมของพุทธทาสภิกคุ (2) การนำหลักการแนวคึดธัมมิกสังคมนิยมของพุทธทาสภิกขุ มาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย ผลการวิจัยพบว่า (1) แนวคิดธัมมิกสังคมนิยม แนวคิดที่ถือเอาประโยชน์ของสังคม เป็นหลัก ซึ่งประกอบต้วยธรรม ธรรมะคือธรรมชาติ กฎธรรมชาติ หน้าที่ตามกฎธรรมชาติและผลของการทำหน้าที่ตามกฎธรรมชาติ สังคมนิยม คือ การเพ่งเล็งเรื่องที่เกี่ยวกับคนหมู่มาก การเห็นแก่ส่วนรวม มุ่งทำประโยชน์สุขให้กันมหาชน ไม่เอาส่วนเกิน (2) การนำหลักการแนวคิดธัมมิกสังคมนิยมมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย 2.1) การพัฒนาประชาชนไม'ให้เป็นทาสวัตถุ แต่ให้เห็นคุณค่าของหลักธรรม โดยการพัฒนาให้มีการศึกษาที่ถูกต้อง 2.2) ถูกต้องแก่ความเป็นมนุษย์ 2.3) ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลักและประกอบอยู่ด้วยธรรม การใช้ระบบศึลธรรม พัฒนาให้บุคคลมีคุณธรรมและศีลธรรมเป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ เพื่อสร้างสังคมให้เป็นสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข การพัฒนานักการเมืองให้มีคุณธรรม โดยมีธรรมะ คือหน้าที่ที่จะต้องประพฤติกระทำให้เกิดสันติสุขในหมู่มนุษย์ทั้งโดยส่วนตัวและส่วนรวมอย่างปราศจากปัญหาใด ๆ เป็นเป้าหมายในการปกครอง และการจัดระบบการเมืองให้ถูกต้อง คือให้เป็นระบบการเมืองที่อยู่บนฐานของคุณธรรม
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/647
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
119012.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons