Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธันยพร ปัญญาทิพย์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T03:01:04Z-
dc.date.available2023-06-19T03:01:04Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6485-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความเหมาะสมด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (2) ประเมินปัจจัยเบื้องต้น (3) ประเมินกระบวนการดำเนินงาน และ (4) ประเมินผลผลิต ของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต พุทธศักราช 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย (1) ผู้บริหาร อาจารย์คณะครุศาสตร์ จำนวน 32 คน (2) นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-5 จำนวน 367 คน (3) บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา จำนวน 100 คน และ (4) ผู้บังคับบัญชาบัณฑิต จำนวน 88 คน รวมทั้งสิ้น 587 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ด้านความเหมาะสมของวัตถุประสงค์หลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก (2) ด้านปัจจัยเบื้องต้น พบว่า โครงสร้างหลักสูตร เนื้อหาหลักสูตรและอาจารย์ ทุกกลุ่มมีความเห็นว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก บัณฑิตมีความเห็นว่า สื่อการเรียนการสอนมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง (3) ด้านกระบวนการ พบว่า การบริหารหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการวัดและประเมินผลมีความเหมาะสมในระดับมากและ (4) ด้านผลผลิต พบว่า คุณลักษณะบัณฑิตและคุณภาพทางวิชาการบัณฑิตมีความเหมาะสม ในระดับมาก ซึ่งผลการประเมินทุกด้าน เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย -- หลักสูตร -- การประเมินth_TH
dc.subjectครุศาสตร์ -- หลักสูตร -- การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต 5 ปี พุทธศักราช 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the 5-year bachelor of education program, B.E. 2004 in Chiangrai Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were (1) to evaluation the objective of course, (2) to evaluate the input, (3) to evaluate the operational process, and (4) evaluate the output of An Evaluation of the 5-year Bachelor of Education Program, B.E.2004 In Chiangrai Rajabhat University The research in formants included (1) 32 administrators and teacher of faculty of education, (2) 367 students 3-5 year, (3) 100 graduates, (4) 88 graduate supervisors included 587.The informants were obtained by stratified random sampling. The employed data collection instrument was a questionnaire. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The Research findings revealed that (1) in terms of the objective of the course deemed that the overall appropriation was at the high level; (2) in terms of the input deemed that the overall appropriation was at the high level, as curriculum, content and teacher; while the graduates deemed that the overall appropriation, as instruction media was at the medium level; (3) in terms of the operational process deemed that the overall appropriation was at the high level, as curriculum management, learning process, professional experiences and measurement and evaluation; and (4) in terms of the output deemed that the overall appropriation was at the high level, as attribute graduates and academic quality graduates. In conclusion, the evaluation results of all of the project components were in accordance with the set criteriaen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128759.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons