Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6487
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | เอกนรินทร์ แก้วประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-19T03:30:10Z | - |
dc.date.available | 2023-06-19T03:30:10Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6487 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนอง (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนอง และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนองการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยประชากรที่ศึกษาเป็นประชาชนในเขตเทศบาลเมืองระนอง กสุ่มตัวอย่างที่ศึกษาได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 384 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ โดยแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.81 และค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย คำเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนอง นั้น ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนองใด้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่ประกอบด้วย เพศ ศาสนา ที่อยู่อาศัย ระยะเวลาอยู่อาศัย และบทบาทในชุมชน และปัจจัยการมีส่วนร่วมประกอบด้วยการประเมินผลการแก้ไขปัญหา การลงมือดำเนินการแก้ไขปัญหา การคิคและตัดสินใจเลือกแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์สกาพชุมชน ปัญหา และหาสาเหตุของปัญหาและการรับผลประโยชน์จากการแก้ไขปัญหาโดยมีควานสัมพันธ์เชิงบวกกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลำดับ (3) สำหรับปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะใด้แก่ประชาชนขาดจิตสำนึกและไม่ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาขยะ ประชาชนขาดความรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาขยะ และขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องจากหน่วยงานราชการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.305 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การกำจัดขยะ--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | ขยะ--การจัดการ--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาขยะของเทศบาลเมืองระนอง | th_TH |
dc.title.alternative | People's participation in the gabage [i.e. garbage] problem solving of Mueang Ranong Municipality | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.305 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.305 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study level of people’s participation in solving garbage problem of Mueang Ranong Municipality (2) study factors affecting people's participation in solving garbage problem of Mueang Ranong Municipality and (3) study problems and barriers of people’s participation in garbage solving problem of Mueang Ranong Municipality. This study was a survey research. Population consisted of people in Mueang Ranong Municipality. Samples were 384 electorates in the area. Instruments used were questionnaire and interview. The questionnaire was .81 level of validity and .91 level of reliability. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t - test, F - test. One -Way Analysis of Variance and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. Research result revealed that (1) most of the people did not participate in solving garbage problem of Mueang Ranong Municipality (2) factors affecting people’s participation in solving garbage problem of Mueang Ranong Municipality were personal factors including gender, religion, residence location, residential period, and roles in community; and participation factors including the evaluation of problem solving, operational action, people’s consideration together with decision to choose appropriate approach and pattern in solving the problems, community condition analysis, the analysis of problem, its cause, and the benefits deriving from solving the problems; which had positive relations with people’s participation at .05 level of significance. (3) problems and barriers were lack of conscious of the people and no recognition of the importance of solving garbage problem, lack of knowledge and understanding in solving garbage problem, and lack of continuous public relation on the issue of government agencies. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เฉลิมพงศ์ มีสมนัย | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
110156.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License