Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัย | th_TH |
dc.contributor.author | พัชราวไล ศรีสุนาครัว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-19T04:06:40Z | - |
dc.date.available | 2023-06-19T04:06:40Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6492 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและ (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดซึ่งมีผลการตัดสินใจเลือกใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครประชากรที่ใช้ในการศึกษานี้คือประชากรในเขตกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 5,695,956 คน โดยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน, การทดสอบค่าที, การทดสอบค่าเอฟ และ ไค-สแควร์ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 66.0) และมีอายุระหว่าง 19-22 ปี (ร้อยละ 27.3) มีรายได้ต่อเดือน 5.001 - 10.000 บาท (ร้อยละ 39.5) ระดับการศึกษาคือระดับมัธยมศึกษา/ปวช. (ร้อยละ 35.0) อาชีพคือนักเริยน/นักศึกษา (ร้อยละ 39.0) และมีสถานภาพโสด (ร้อยละ 61.0) จากผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยพบว่ามีการเลือกใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ AIS อันดับที่ 1 (ร้อยละ 49.0) ระยะเวลาในการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่คือใช้น้อยกว่า 1 ปี (ร้อยละ 49.8) ส่วนใหญ่เลือกใช้ะบบเติมเงิน (ร้อยละ 83.0) ค่าใช้จ่ายในการใช้ต่อเดือน คือ 300 - 600 บาท (ร้อยละ 46.0) ช่วงเวลาที่ใช้โทรคัพท์บ่อยที่สุดคือ เวลา 18.01-21.00 น. (ร้อยละ 46.2) ส่วนระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์เฉลี่ยสูงสุดวันละ 3- 4 ครั้ง (ร้อยละ 38.8) โดยมากกว่าครั้ง (ร้อยละ 51.8) ใช้โทรศัพท์เฉลี่ยแต่ละครั้งน้อยกว่า 5 นาที มากที่สุด (2) จากผลการวิเคราะห์ระดับการตัดสินใจเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทั้ง 7 ด้าน พบว่าค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก อันได้แก่ ด้านผลิตกัณฑ์(ค่าเฉลี่ย=3.86) ด้านราคา (ค่าเฉลี่ย=3.60) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (ค่าเฉลี่ย=3.49) ด้านการส่งเสริมการตลาด (ค่าเฉลี่ย=3.75) ด้านบุคคล (ค่าเฉลี่ย=3.38) และด้านกระบวนการ (ค่าเฉลี่ย=3.42) ยกเวันด้านลักษณะทางกายภาพ (ค่าเฉลี่ย=3.36) ที่มีค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นอยู่ระดับปานกลางผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า (1) มีความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ รายได้ อาชีพและสถานภาพสมรสกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทั้ง 7 ด้าน โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลในด้านเพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา อาชีพ และสถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กับพฤติมกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.120 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โทรศัพท์เคลื่อนที่--พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | โทรศัพท์เคลื่อนที่--การจัดซื้อ.--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้ในกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Customers' behavior and factors affecting the purchasing decision of mobile phone network in Bangkok Metropolis | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.120 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.120 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the behavior of mobile phone network users in Bangkok Metropolis; and (2) to study the marketing-mix factors affecting the service purchasing decision for mobile phone network users in Bangkok Metropolis. The research samples comprised 400 persons using Multi-Stage Sampling from the population of 5.695.956 persons who lived in Bangkok Metropolis. Data were collected through questionnaires. The statistics used were percentage, mean, standard deviation. (ANOVA) or t-test. F-test and Chi-square. The research results indicated that: (1) the majority of the samples were female (66.0%). 19-22 years of age (27.3%). average monthly income between 5.001-10.000 baths (39.5%). high school level students (39.0%), and single marital status (61.0%) -It was figured from the analysis of behavior of mobile phone network users that the highest number of network users were: AIS (49.0%). nearly half of the consumers used the mobile phone (49.8%) for less than a year. Pre-paid system was the highest choice of preference (83.0%). The amount paid for service was between 300-600 baths a month (46.0%). the dialled time was between 18.01-21.00 p.m. (46.2%).Average dial frequency was between 3-4 times per day (38.8%). and the average time spent was less than 5 minutes per day (51.8%). (2) It was figured from the analysis regarding the marketing-mix factors (7Ps) choice decision that the overall mean was ranked "high" for product( X =3.86).price( X =3.60).place (X=3.49). market promotion! X =3.75). personnel (X =3.38), process( X =3.42) with the exception of physical environment X = 3.36) which was ranked "medium". The hypothesis testing results indicated that: (1) there were difference of personal factors as age. income, occupation and marital status to marketing-mix factors (7Ps) at the significance level of .05 and (2) there exist a direct relation of personal factors as sex. age. income, education level, occupation and marital status to behavior of mobile phone network users at the significance level of .05. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ธนชัย ยมจินดา | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
110369.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License