Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6498
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นัยนา บัวเขียว, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-19T04:40:16Z | - |
dc.date.available | 2023-06-19T04:40:16Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6498 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา (1) ประสิทธิผลการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการ พัฒนาระบบ (3) เปรียบเทียบประสิทธิผลของการพัฒนาระบบ และ (4) ปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 1,439 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 313 คนโดยกลุ่มแบบชั้นภูมิ เคื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและวิเคราะห์ความแตกต่างใช้การทคสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิผลของการพัฒนาระบบ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาระบบ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยพบว่าตัวแปรอิสระมี ความสัมพันธ์ 4 ตัวแปร มีนัยสำกัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การดำเนินงานตามกระบวนการ บริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ความพร้อมของเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารภายใน องค์กร และการมีส่วนร่วมภายในองค์กร (3) การเปรียบเทียนความแตกต่างของประสิทธิผลการ พัฒนาระบบในภาพรวม พบว่า ประสิทธิผกของการพัฒนาระบบไม่แตกต่างกันในหน่วยงาน และ บุคลากรแต่ละประเภท (4) ปัญหา อุปสรรคที่พบ ส่วนใหญ่เป็นด้านบุคลากร และระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งผู้ใช้ในระบบเสนอแนะให้สร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับ สร้าง วัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ปรับปรุงระบบเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี -- การบริหาร | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี -- การบริหารความเสี่ยง | th_TH |
dc.subject | การควบคุมภายใน | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of the information system development for the purpose of risk management and internal control of Ubonratchathani University | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The population in this study were 1,439 staff at Ubonratchathani University. 313 staff were selected as samples. The instrument used was questionnaires. The statistic used to analyze the data by Computer programs were frequency, percentage, mean, and standard deviation; t- test Analysis for analyzing an effectiveness of the Information system development level. Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship; t-test and One - way Analysis of Variance (One - way ANOVA) for analyzing the difference, and finding a difference in pairs by using Scheffe Method. The findings of this study were as follows: (I) the effectiveness as a whole was at “much” level; (2) the factors influencing the Risk Management and Internal Control Information System development whole was at “fair” level, it was found that the were 4 independent variables the operations, in formation technology, organizational communication, and organizational participation, were found to be related to the dependent variable at .05 statistical significance; (3)As for the comparison of an effectiveness of development Risk Management and Interna) Control Information System, as a whole, classified by institutes and type of officers, there were no differences; and (4) As for the problems on the development Risk Management and Internal Control Information system, most of the problems were the officers and information technology system. The users have suggested Ubonratchathani university should build an understanding among officers, build an organizational culture concerned about risk management and internal control and make adjustments to network System | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118948.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License