Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีปth_TH
dc.contributor.authorมนัสนันท์ ปัญญาสุภารัตน์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T06:39:32Z-
dc.date.available2023-06-19T06:39:32Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6504en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงาน กสช.กฟภ. ในด้านการเงิน ด้านผู้รับบริการ ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเรียนเและพัฒนา (2) ศึกษาปัญหาการดำเนินงาน กสช.กฟภ. (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดำเนินงาน กสช.กฟภ. การศึกษาวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน ระเบียบข้อบังคับ และจากการสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์สรุปและวิเคราะห์เปรียบเทียบ การวิจัยเชิงปริมาณศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 365 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามกรอบแบบประเมินดุลยภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ด้านการเงินผลการดำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี ผลตอบแทนหลังหักค่าใช้จ่ายเฉลี่ยร้อยละ?.38 ต่อปี สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงิน ด้านผู้รับบริการมีความพึงพอใจในผลการดำเนินงานในระดับปานกลาง ด้านกระบวนการภายในผลการดำเนินงานเป็นไปตามขอบเขตโครงสร้างที่กำหนดด้านการเรียนและพัฒนา ต้องพัฒนาระบบโปรแกรมทะเบียนสมาชิกให้เหมาะสมเพื่อรองรับกับปริมาณงาน (2) ปัญหาจากผลการดำเนินงาน คือ ด้านการเงิน ในบางปีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ด้านผู้รับบริการ สมาชิกยังไม่พอใจในผลตอบแทนของกองทุนเท่าที่ควร ด้านกระบวนการภายใน จำนวนบุคลากรในการปฏิบัติงานมีไม่เพียงพอ ด้านการเรียนรู้และพัฒนา ระบบโปรแกรมที่ใช้งานรองรับกับความต้องการของงานไม่เต็มที่(3) ข้อเสนอแนะด้านการเงินควรมีการประชุมหารือกับบริษัทจัดการสมํ่าเสมอเพื่อหานโยบายการลงทุนที่เหมาะสม ด้านผู้รับบริการ คณะกรรมการต้องบริหารการลงทุนให้ได้ผลตอบแทนที่สูงกว่าเดิมเพื่อให้สมาชิกมีความมั่นใจในกองทุน ด้านกระบวนการภายใน ควรเพิ่มอัตรากำลังให้เพียงพอกับปริมาณงาน ด้านการเรียนรู้และพัฒนา กองทุนควรเร่งจัดทำระบบทะเบียนสมาชิกเองทั้งหมดเพื่อความสะดวกรวดเร็วและลดค่าใช้จ่ายของกองทุน และควรให้มีการวิจัยประเมินผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจอิ่นๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.14en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ--การบริหารth_TH
dc.subjectกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ศึกษากรณีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคth_TH
dc.title.alternativeOperation evaluation of the provident fund : a case study of provincial electricity authority.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.14en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeObjective of this research was to (1) Evaluate the operation of provident fund in the scope of finance, service members, internal process, learning and development. (2)Study the operation problems of provident fund. (3)Rccommend guidelines for developing provident fund. The research was both qualitative research and quantitative research. The qualitative research was collected data from documents, reports and rule and regulations and then analysed by contents, summaries and comparisons. For the quantitative research was studied from a sampling group of 365 people in which the data collection came from the questionnaires that research created from equilibrium evaluation framework and then analysed the data by descriptive statistics percentage, mean and standard deviation. The research result found (1) Operation that stayed in a good level was finance, rhe returns. after deducted cost, with an average of 7.38 a year was higher than financial institution interest rate. For the service members and satisfaction in fund operation was at intermediate level. For the internal process, its operation had suited by the scope of determined structure. As for the learning and development, there is a must for developing suitable registration program for acquired amount of works. (2) Problems from the fund operation was finance. In some years, the return rate from the investment was not as was targeted. The service members were unsatisfied with the fund returns. For the internal process, problems the number of employees were lack. As for learning and development problems, the program systems were limited to suit the need of works. (3)For the recommendation on finance, there should be regular meetings with the management company to find suitable investment policies. Recommendation for service members, the board committee must manage investments for higher returns to make members confident in the fund. The internal process, there should be more recruitment for sufficient amount of work. For learning and development the fund should speed up the setting up of member registration system for the convenience, promptness and fund cost reduction. There also should be research on operation evaluation of provident funds in other state enterprises.en_US
dc.contributor.coadvisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118992.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons