Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6508
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เข็มทอง ศิริแสงเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | แก่นใจ ศรีวิลัย, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-19T07:11:07Z | - |
dc.date.available | 2023-06-19T07:11:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6508 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 (2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 จำนวน 66 แห่ง ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ข้าราชการครูเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่า ความเที่ยง .98 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฎว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษามีการใช้พลังอานาจโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยพลังอำนาจที่มีการใช้มากกว่าด้านอื่น คือ พลังอำนาจอ้างอิง และ พลังอำนาจที่มีการใช้น้อยกว่าด้านอื่น คือ พลังอำนาจการบังคับ (2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีประสิทธิผลมากกว่าด้านอื่น คือ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนต่อสภาวะแวดล้อมที่มากระทบทั้งภายในและภายนอก และด้านที่มีประสิทธิผลน้อยกว่าด้านอื่น คือ ความใฝ่รู้รักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเองของนักเรียน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงมากที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงเรียน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ประสิทธิผลองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationships between the school administrator's empowerment and the effectiveness of schools under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) the empowerment of school administrators under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3; (2) the effectiveness of schools under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3; and (3) the relationships between the school administrators' empowerment and the effectiveness of schools under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3. The research sample comprised 66 schools under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3, obtained by simple random sampling; the informants were teachers. The employed research instrument was a rating scale questionnaire developed by the researcher, with .98 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. Research findings were as follows: (1) the overall and by-aspect levels of empowerment exercised by school administrators were at the high level; the referent power was the most frequently used, while the coercive power was the least frequently used; (2) the schools’ overall and by-aspect levels of effectiveness were at the high level; the ability to adapt to environmental conditions that internally and externally affect the schools was their most effective aspect; while the students’ enthusiasm for and love of reading and searching for knowledge on their own was the least effective aspect of the schools; and (3) there were very highly positive relationships, which were significant at the .01 level, between the school administrators' empowerment and the effectiveness of schools under Kanchanaburi Primary Education Service Area Office 3. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148517.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License