Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวาสนา สะอาด, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T08:04:06Z-
dc.date.available2023-06-19T08:04:06Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6517-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (3) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 549 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรคำนวณทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 226 คน โดย สุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือทึ่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยถะ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ แบบขั้นตอน การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการวิจัย พบว่า (1) ) คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก (2) การศึกษาระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการรทำงานในภาพรวมระดับมาก ซึ่งตัวแปรอิสระความสัมพันธ์ 5 ตัวแปร ได้แก่ ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน การได้รับความสำเร็จในการทำงาน สถานภาพ/ลักษณะ การทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และเงินเดือนค่าตอบแทน (3) การ เปรียบเทียบความแตกต่าง พบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในประเภทเงินงบประมาณ และพนักงานเงินรายได้ไม่แตกต่างกัน (4) ปัญหา อุปสรรคที่พบส่วนใหญ่เป็นด้านทัศนคติก่อการ ทำงาน และด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาโดย ให้ผู้บริหารควรกำหนดนโยบายเพื่อการให้ความสำคัญในเรื่องพนักงานสายสนับสนุนุให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.95en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี -- พนักงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน -- ไทย -- อุบลราชธานีth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of university staff of Ubonratchathanee Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were ะ (1) the quality of work life of support staff in Ubonratchathanee university ; (2) the factors influencing the quality of work life ; (3) to compare the quality of work life ; and (4) the problems of work life of university staff. The population in this study were 549 support staff in Ubonratchathanee University. 226 samples were selected by using stratified random sampling methodology. The instrument used was questionnaires. The statistics used to analyze the data by computer programs were to frequency, percentage, mean, and standard deviation; Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship; t-test and One - way Analysis of Variance (One-way ANOVA) for analyzing the difference, and finding the difference in pairs by using Scheffe Method. The findings of this study were as follows: (1) The quality of work life of Support Staff of Ubonratchathanee university as a whole was at “the much" level, (2) As for the factors influencing that quality of work life they were was at “ much” level, and there were 5 independent variables at .05 statistical significance; the variables were the advancement and job security, achievement, status and work itself, cooperation and relations, and wage; (3) As for the comparison of the quality of work life as a whole, classified by type of support staffs, there was no difference; and (4) As for the problems on quality of work life, most of the problems was the attitude to work and work environment. The support staff have suggested the administrator should to formulate policy to improve the quality of work life of support staffen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118997.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons