Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุมิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรนันท์ เกรียงธีรศักดิ์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T08:54:43Z-
dc.date.available2023-06-19T08:54:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6528-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณภาพบริการตามความคาดหวัง และคุณภาพ บริการตามการรับรู้ของนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) (2) เปรียบเทียบคุณภาพ บริการตาม ความคาดหวังกับคุณภาพบริการตามการรับรู้ของนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) และ (3) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังกันคุณภาพบริการตามการรับรู้ ของนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ใน ชั้นมัธยมศึกษาปืที่ 4-6 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 724 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรการ คำนวณของ ทาโร่ยามาเน่ และสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 300 คน และกระจายการเก็บข้อมูลทุกห้อง ห้องละ 10 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลข คณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพบริการตามความคาดหวังและคุณภาพบริการตามการรับรู้ของ นักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยนักเรียน คาดหวังมากที่สุดในด้านความมั่นใจในสมรรถนะของบุคลากร และมีการรับรู้มากที่สุดในด้านความ เข้าใจและความเห็นอกเห็นใจ (2) คุณภาพบริการตามความคาดหวังกับคุณภาพบริการตามการรับรู้ของ นักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) ทั้งโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านความเข้าใจและความเห็นอกเห็นใจเท่านั้นที่ไม่แตกต่างกัน โดยมีระดับความคาดหวังสูงกว่าการรับรู้ทุกด้าน ดังนั้นนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) จึงไม่พึง พอใจต่อบริการที่ได้รับ และ (3) นักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) ที่มีระดับชั้น และคะแนนเฉลี่ยแตกต่างกัน มีความคาดหวังต่อคุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนที่มีเพศแตกต่างกันมีการรับรู้ต่อคุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.186en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) -- นักเรียนth_TH
dc.subjectความคาดหวัง (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectบริการของโรงเรียนth_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)th_TH
dc.title.alternativeService quality as expected and perceived by students of Mahidol Wittayanusorn School (Public Organization)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the service quality of Mahidol Wittayanusom School (Public Organization), (MWITS), as expected and perceived by MWITS students, (2) compare the expected and the perceived service qualities of MW ITS students and (3) compare the expected and the perceived service qualities of MWITS students classified by personal background This research was the survey research. Three hundred samples were selected in accordance with Taro Yamane method and stratified sampling technique from the whole school Mathayom 4-6 student populations of 724 of the academic year 2008. Simple random sampling technique was also used in selecting 10 student samples for each class, from all 30 classes within the school. The research tool was questionnaire and statistical tools were percentage, means,, standard deviations, t-test, one-way analysis of variance, and least significant difference test The research findings results showed that (1) over all, the quality of services as expected and perceived by the students were at the maximum level. The highest students’ expectation was the confidence in the capability of the school personnel and the highest perception was understanding and sympathy, (2) the quality of sendees both in all and separated categories as expected and perceived by students were significantly different at 0.05 levels, except on the understanding and sympathy in which the expectations for service quality were higher than perceptions, thus, students were not satisfied with the school provided service and (3) as classified by personal background, expectations on the service quality of students who were in different levels and had different GPA were significantly different at 0.05 level and perceptions on the service quality of students with different genders were significantly different at 0.05 level as wellen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119050.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons