Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา พิสฐศาสน์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:23:43Z-
dc.date.available2022-08-17T03:23:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/652-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วิธีการนำนโยบายปราบปรามผู้มีอิทธิพลโดยใช้มาตรการทางภาษีไปปฏิบัติ (2) ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายปราบปรามผู้มีอิทธิพลโดยใช้มาตรการทางภาษีไปปฏิบัติ (3) ผลกระทบของนโยบายปราบปรามผู้มีอิทธิพลโดยใช้มาตรการทางภาร ผลการวิจัยพบว่า (1) วิธีการนำนโยบายปราบปรามผู้มีอิทธิพลโดยใช้มาตรการทางภาษีไปปฏิบัติ มีกรมสรรพากรเป็นหน่วยงานหลักในการใช้อำนาจเรียกเก็บภาษีอากรจากผู้มีอิทธิพลตามประมวลรัษฎากรซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษ และมีหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องส่งข้อมูลผู้มีอิทธิพลให้ (2) ปัญหาและอุปสรรค คือ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทำให้กรมสรรพากรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพลจากหน่วยงานอื่นลดลง และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ของกรมสรรทากรไม่ได้รับการส่งเสริมด้านขวัญ และกำลังใจมากเท่าที่ควร ทำให้การปฏิบัติงานเป็นการทำงานเชิงรับมากกว่าเชิงรุก (3) ผลกระทบที่สำคัญ คือ การที่ผู้มีอิทธิพลต้องนำเงินบางส่วนมาชำระภาษี ทำให้พฤติกรรมในการใช้เงินหาเสียงเลือกทั้งของนักการเมืองผู้มีอิทธิพลใน ท้องถิ่นเปลี่ยนไปมีการระมัดระวังในการใช้เงินเพื่อหาเสียงทำให้การเมืองท้องถิ่นโปร่งใสมากขึ้นการลงทุนของธุรกิจเอกชนดีขึ้นเป็นไปตามกลไกของตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพากร ภาค 6th_TH
dc.subjectภาษี -- นโยบายของรัฐth_TH
dc.titleการนำนโยบายปราบปรามผู้มีอิทธิพลโดยใช้มาตรการทางภาษีไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีสรรพากรภาค 7th_TH
dc.title.alternativeImplementation of the policy of using tax measures to suppress influential people : a case study of the Region 7 Revenue Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study: (1) methods of implementing a policy to use tax measures to suppress influential people; (2) problems and obstacles to implementing a policy to use tax measures to suppress influential people; (3) the impact of. a policy to use tax measures to suppress influential people. The research showed that (1) the Revenue Department was the primary agency responsible for using its power to collect taxes from influential people under the auspices of the Revenue Code, which is a special law, and officials from related agencies supplied information on the influential people to the Revenue Department. (2) The problems encountered were that political changes caused the Revenue Department to receive less information on the influential people from other agencies and that not enough was done to boost the morale of Revenue Office employees, so they worked in a passive rather than an active way. (3) The major impact of the policy was that the influential people had to use some of their money to pay taxes and this caused changes in the vote-buying behavior of influential local politicians. They were more cautious in their vote-buying spending, which led to greater transparency in local politics. Also, private sector investment increased following market mechanisms.en_US
dc.contributor.coadvisorธโสธร ตู้ทองคำth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114934.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons