Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6534
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยุทธพงษ์ ปัญญาใส, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T02:34:25Z-
dc.date.available2023-06-20T02:34:25Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6534-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แรงจูงใจในการป้องกันรักษาป่าของ บุคลากรสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) (2) ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการป้องกัน รักษาป่าของบุคลากรสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) (3) ข้อเสนอแนะแนวทางสร้าง เสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานป้องกันรักษาป่าของบุคลากรสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) ประกอบด้วยข้าราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานราชการสังกัดสำนักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) จำนวน 214 คน เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.853 สถิติที่ใซ้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในการป้องกันรักษาป่า ในระดับมาก โดยด้านความกระตือรือร้น มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านความพยายาม มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด (2) ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการป้องกันรักษาป่า ในระดับมาก โดยด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงานและด้านการได้รับการยอมรับนับถือ มีค่าเฉลี่ย สูงสุดเท่ากัน และด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (3) การวิเคราะห์ความถดถอย พหุคูณแบบขั้นตอนของแรงจูงใจในการป้องกันรักษาป่า พบว่าในภาพรวมด้านความสำเร็จไนการ ปฏิบัติงานมีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานป้องกันรักษาป่ามากที่สุด รองลงมาคือด้านการได้รับ การยอมรับนับถือ และด้านความรับผิดชอบ ตามลำดับ (4) ข้อเสนอแนะ ได้แก่ การมีส่วนในการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ขาดวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือในการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทนน้อยเมื่อเทียบกับ ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน จึงควรเพิ่มค่าตอบแทนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.200en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี)th_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานป้องกันรักษาป่าสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) กรมป่าไม้th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the motivation to protect the forest of forest offices in forest resource management Bureau 6, Udon Thani Royal Forest Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: (1) work motivation in forest prevention of staff at Forest Resource Management Bureau 6, Udonthani Royal Forest Department, (2) factors affecting work motivation in forest prevention of staff at Forest Resource Management Bureau 6, Udonthani Royal Forest Department, (3) recommendations and guidelines to enhance work motivation in forest prevention of staffs at Forest Resource Management Bureau 6, Udonthani Royal Forest Department. Samples of 214 included government officers, permanent employees, and government employees of Forest Resource Management Bureau 6, Udonthani Royal Forest Department. The study survey. Instrument used was questionnaire with reliability level at 0.853. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The study revealed that (1) in general, sample was in high level, with highest mean on enthusiasm and lowest mean on attempt, (2)) in general, the samples have comments about the factors that affect motivation in high forest, the success of the operation, and being respected, highest mean equal and the compensation and benefits, the average pound, and (3) analysis of multiple regression as follows: the motivation of the forest found that overall the successful operation affect motivation to work forest most, followed by the recognition, and responsibility, as (4) recommendations were: involvement in conservation of forest resources, lack of materials, equipment in operation, pay less when compared with the risk of operation, should increase compensationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119068.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons