Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจน์แสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนพฤทธ์ รัตนจาตุรนต์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T02:56:55Z-
dc.date.available2023-06-20T02:56:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6535-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการ งานป้องกันการสูญเสีย (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดการงานป้องกันการสูญเสียก่อนและหลังการนำระบบ บริหารคุณภาพโดยรวมมาใช้ (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดการงานป้องกันการสูญเสียให้ มีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการงาน ป้องกันการสูญเสีย และการวิจัยเชิงทดลองโดยการนำระบบบริหารคุณภาพโดยรวมมาใช้ในการจัดการงานป้องกัน การสูญเสีย ใช้ประชากรเป็นพนักงานป้องกันการสูญเสียของบริษัท โสม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 241 คน จาก 35 สาขา โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม และการวิจัย เชิงทดลองโดยการนำระบบบริหารคุณภาพโดยรวม ได้แก่ การบริหารงานประจำวัน กิจกรรมจากล่างขึ้นบน ประกอบด้วย 5ส กิจกรรมข้อเสนอแนะ กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และการบริหารนโยบาย มาใช้จริงแล้วเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการจัดการงานป้องกันการสูญเสีย ด้านการควบคุมความสูญเสีย การควบคุมการเกิดอุบัติเหตุ และ การพัฒนาพนักงานป้องกันการสูญเสีย โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังการนำระบบบริหารคุณภาพโดยรวมมาใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการงานป้องกันการสูญเสีย ได้แก่ อายุงาน วุฒิทางการศึกษา และการอบรมระบบบริหารคุณภาพโดยรวม (2) การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ การจัดการงานป้องกันการสูญเสีย หลังการนำระบบบริหารคุณภาพโดยรวมมาใช้ทำให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นวัด ด้วยอัตราความสูญเสียที่ลดลง 0.09% ของยอดขาย หรือ 18 ด้านบาท อัตราการเกิดอุบัติเหตุที่ลดลง 18.05% และ คะแนนประเมินการปฏิบัติงานพนักงานป้องกันการสูญเสียที่เพิ่มขึ้น 3.91 % (3) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการ งานป้องกันการสูญเสีย ได้แก่ ความเข้าใจในระบบบริหารคุณภาพโดยรวม การเปลี่ยนแปลงพนักงาน และความ ร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องข้อเสนอแนะควรนำระบบบริหารคุณภาพโดยรวมมาใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้การ จัดการงานป้องกันการสูญเสียมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.201en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวม -- การจัดการth_TH
dc.titleการจัดการงานป้องกันการสูญเสียด้วยระบบบริหารคุณภาพโดยรวม : กรณีศึกษาบริษัทโฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeLoss prevention management by total quality management : a case study of Home Product Center Public Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to : (1) study personal factors affecting the efficiency of loss prevention management; (2) compare the changes in the efficiency of loss prevention management before and after applying the total quality management modules; and (3) study the problems, obstacles, and suggestions of loss prevention management efficiency. The survey and experimental research was conducted in the population 241 staff in the Loss Prevention Section of Home Product Center Public Company Limited in 35. The tool used in this research was questionnaire. Statistical analysis was mean, standard deviation, and linear regression . The experiment of total quality management was daily management from bottom-up activities and policy management to be used in real situation and then compare the efficiency of loss prevention management both before and after the application. The rate of shrinkage, accident occurrence, and loss prevention evaluation results were measured. The results of this research were that ะ (1) personal factors including working lifetime, education level, and total quality management training affected the efficiency of loss prevention management; (2) application of total quality management with loss prevention management caused higher efficiency by considering the amount of shrinkage reduction, the lower rate of accident occurrence and the higher result of staff ร evaluation; and (3) problems and obstacles in loss prevention management included the understanding in total quality management, the changes of staff and the cooperation from other departmentsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119070.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons