Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6541
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจน์แสง | th_TH |
dc.contributor.author | เอนก รัตนงาม, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T04:48:31Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T04:48:31Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6541 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) รูปแบบการสื่อสารภายในองค์กร บริษัท ไทย เบฟเวอเรจมาร์เก็ตติ้ง จำกัด กรณีศึกษาเขตการขายที่ 6 (2) เปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารจำแนกตาม ลักษณะประชากร (3) วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพภายในองค์กร และ (4) ปัญหาอุปสรรคการสื่อสาร ภายในองค์กร เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ พนักงานบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด เขตการขาย ที่ 6 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย สกลนคร นครพนม และ มุกดาหาร จำนวน 659 คน การสุ่มตัวอย่างตามชั้นภูมิกำหนดตัวอย่างโดยใช้ทาโรยามาเน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้ขนาดตัวอย่างจำนวน 248 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.938 สถิติ ที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการสื่อสารภายในองค์กรมีทั้ง การสื่อสารจากบนลงล่างที่สามารถ สร้างการรับรู้ บทบาทหน้าที่ได้ชัดเจน การสื่อสารจากล่างขึ้นบนมีการเปิดโอกาสสื่อสาร เพื่อรับข้อมูล สะท้อนกลับ การสื่อสารในแนวนอนลดความขัดแย้งโดยรูปแบบการสื่อสารจากล่างขึ้นบนจะมีน้อยกว่า รูปแบบอื่น (2) การศึกษาลักษณะประชากรในด้าน เพศ การศึกษา ตำแหน่งงาน และอายุที่ส่งผลกระทบ ต่อความแตกต่างในการรับรู้ พบว่า พนักงานที่มีอายุแตกต่างกันมีการรับรู้ในรูปแบบการสื่อสารที่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มี เพศ การศึกษา ตำแหน่งงานแตกต่างกัน พบว่ามีการรับรู้ในรูปแบบการสื่อสารที่ไม่ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (3) วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพที่สุดขององค์กร คือ การ สื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษรรองลงมา คือ การสื่อสารด้วยวาจามีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้าก่อนการปฏิบัติ มีการจัดการประชุมเปิดโอกาสให้สอบถามปัญหา ได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ และ (4) อุปสรรค ปัญหาที่ พบมากที่สุด คือความชัดเจนของการติดต่อสื่อสารด้วยวาจา รองลงมาคือ ปัญหา ปริมาณการติดต่อสื่อสาร ด้วยลายลักษณ์อักษรข้อเสนอแนะการเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารเพื่อสร้างการยอมรับควรเพิ่มความรู้ เสริมแรงจูงใจด้วยการรับฟัง และสนองตอบด้วยความจริงใจ อย่างยุติรรม เพิ่มช่องทางการสื่อสารจากล่างขึ้นบน และในการสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษรควรประกอบกับการสื่อสารด้วยวาจาเพื่อเพิ่มความชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจมาร์เก็ตติ้ง | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารในองค์การ. | th_TH |
dc.title | รูปแบบการสื่อสารภายในองค์กรของบริษัทไทยเบฟเวอร์เรจมาร์เก็ตติ้ง : กรณีศึกษาเขตการขายที่ 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Internal organizational communication format, of Thai Beverage Marketing Public Company Limited : a case study of the 6th sale area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed study: (1) to internal organizational communication format of the 6th sale area in Thai Beverage Marketing Public Co., Ltd (2) Compare patterns of communication according to population(3) the effective internal organizational communication and (4) problems and obstacles of internal organizational communication The sample size was 659 employees with stratified random sampling of the 6th sale area, Thai Beverage PCL., in seven Provinces: Loei, Nong Bua Lumpoo, Udorn Thani, Nong Kai, Sakon Nakom and Mookdaharn. A total of 248 samples were affined by taste Yamane at confidence level of 95%. The tool was questionnaire with the reliability of 0.938. The statistics used in analysis data were percentage, mean, standard deviation, T-Test and F-Test. The study revealed that; (1) the internal organization had a good communication format of top-down, bottom-up, and horizontal communication with the bottom-up format was the least one (2) the study population in terms of gender, education, job and age affected the differences in the perception that older employees have different perceptions m the form of communication different. The sex workers of different positions. Were perceived in the form of communication no different. The level of significance 0.05 (3) the best effective organizational communication was direct verbal communication followed by oral communication, notice before operation, provision of immediate meeting for solving problems and(4) the problems which had been found most was the clearness of oral communication, followed by the quantity of verbal communication Proposal to enhance the communication of knowledge should respect. Extra motivation by listening. And respond with sincerity Rightly Communication channels from bottom to top. And to communicate in writing should be coupled with verbal communication to enhance clarity. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
120927.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License