Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6552
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เข็มทอง ศิริแสงเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | จิรมล สิทธิศักดิ์, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T07:16:31Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T07:16:31Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6552 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอแว้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 (2) เปรียบเทียบระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอแว้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จำแนกตามขนาดโรงเรียน (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ในอำเภอแว้ง ปีการศึกษา 2557 จำนวน 193 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 1 ฉบับ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบรายคู่โดยวิธี LSD และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอแว้ง ตามการรับรู้ของครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านกำหนดพันธกิจของโรงเรียนให้ชัดเจน ด้านการ ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ทางบวกของโรงเรียน และด้านบริหารหลักสูตร และการสอน ตามลำดับ (2) ระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน โดยผู้บริหารโรงเรียนขนาดใหญ่ มีภาวะผู้นำทางวิชาการแตกต่างจากผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง มีภาวะผู้นำทางวิชาการไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหารควรกำกับการดำเนินงานตามเป้าหมายด้วยตนเองควร มอบหมายงานอย่างชัดเจนไม่สั่งการซ้ำซ้อน ควรนิเทศติดตามการสอนของครูในชั้นเรียนเพิ่มขึ้น และควรมี ปฏิสัมพันธ์อันดีกับครูและนักเรียนทั้งในและนอกเวลาราชการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา--ไทย--นราธิวาส | th_TH |
dc.title | ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอแว้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Academic leadership of school administrators in Waeng District under Narathiwat Promary Education Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were as follows: (1) to study the academic leadership level of school administrators in Waeng district under Narathiwat Primary Education Service Area 2 (2) to compare academic leadership level of school administrators in Waeng district under Narathiwat Primary Education Service Area 2 classified by school size; and (3) to study the suggestions concerning the academic leadership development of school administrators. The research sample comprised 193 teachers in Waeng district under Narathiwat Primary Education Service Area 2. The employed research instrument was a questionnaire developed by the researcher with .96 reliability coefficient. The quantitative data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance and paired test with LSD; while the qualitative data were analyzed with content analysis. Research findings revealed that (1) the overall and each dimension of academic leadership of school administrators in Waeng district were at the high level and could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: defined the school’s missions clearly, promoted a positive school learning climate, and managed the curriculum and instructional program, respectively; (2) the academic leadership level of school administrators were differed significantly between groups at the .05 level in all dimensions, big size schools administrators had the academic leadership level differed from those in medium and small size schools significantly at the .05 level but medium and small size schools administrators had no differed in the level of academic leadership; and (3) suggestions were the following: the administrators should monitor the operation to achieve goal by themselves; should assign clearly and unduplicated jobs; should supervise teachers more concerning the instruction in classrooms; and should have good relationships with teachers and students both in and beyond office hours | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_144774.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License