Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6555
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัลยานี ภาคอัต | th_TH |
dc.contributor.author | ศิเรมอร ขาวฟอง, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T07:28:50Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T07:28:50Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6555 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเคลื่อนไหวของตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยทางการเงิน และผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) วิเคราะห์บทบาทของปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์และการเงินในการอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ (3) ระบุปัจจัยสำคัญที่สามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรคือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีงบการเงินครบถ้วนและมีการซื้อขายหลักทรัพย์อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาตั้งแต่ 1 มกราคม 2549-31 ธันวาคม 2551 จำนวน 101 บริษัท ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิของบริษัทจดทะเบียนดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วย ราคาปิดรายเดือนของหุ้นส่วนสามัญและปัจจัยทางการเงินคือ อัตราส่วนราคาตลาดต่อมูลค่าทางบัญชีและมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ ราคาน้ำมันดิบและอัตราแลกเปลี่ยน วิธีการที่ใช้ในการศึกษาคือ การใช้กราฟเชิงเส้นและสมการถดถอยอนุกรมเวลาเพื่ออธิบายการเคลื่อนไหวของปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์และการเงิน และการวิเคราะห์บทบาทของปัจจัยดังกล่าว รวมทั้งระบุปัจจัยสำคัญที่สามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นส่วนสามัญ สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ สถิติที สหสัมพันธ์เพียร์สัน สถิติเดอร์บินร์วัตสัน และการทดสอบไวท์ ผลการวิจัยพบว่า (1) อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราส่วนราคาตลาดต่อมูลค่าตามบัญชีมีการเคลื่อนไหวเพียงเล็กน้อย และมีแนวโน้มลดลงในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 ในขณะที่การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญมีความผันผวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปลายปี 2551 ส่วนราคาน้ำมันดิบและมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดมีการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2549 จนถึงไตรมาสที่ 2 ของปี 2551 จากนั้นลดลงในไตรมาสที่ 4 (2) ปัจจัยทางการเงินสามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ดีกว่าปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ (3) อัตราส่วนราคาตลาดต่อมูลค่าตามบัญชีเป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองลงมาคือมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย--หุ้นสามัญ--อัตราผลตอบแทน | th_TH |
dc.title | บทบาทของปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์และการเงินในการอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Role of economics and finance factors in explaining the variation of stock return in Stock Exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study the variation of economic and finance factors and stock returns in the Stock Exchange of Thailand (SET); (2) to analyze the role of economic and finance factors in explaining the variation of stock returns in the SET; and (3) to identify the important factors explaining the variation of stock returns in the SET. The population of this study is 101 listed companies in the stock Exchange of Thailand (SET). The companies had perfect financial statements and their securities were continuously traded in the full period from 1 January 2006 to 31 December 2008. The Data used in this study were the secondary data of the mentioned companies consisting of the monthly closing stock price with the finance factors as price to book ratio (P/BV ratio), and market capitalization and the economic factors as oil price and exchange rate. Line graph and time-series regression were employed as a methodology to explain the variation of economic and finance factors to analyze the role of such factors and to identify the important factors in explaining the variation of stock returns. The statistics utilized in this study were t-test, pearson, s correlation, Durbin Watson statistics and White-Test. The results found that: (1) the variation of exchange rate and P/BV ratio were slightly changed and tended to decrease in the fourth quarter of the year 2008, in contrast, the variation of stock returns was very fluctuated and tended to in erease at the end of the year 2008. For the oil price and the market capitalization, their variation tended to increase from the year 2006 to the second quarter of the year 2008 and then decreased in the fourth quarter of the year 2008; (2) financial factors would better explain the variation of stock returns in the SET, compared to economic factors; and (3) P/BV ratio was the most important factor in explaining the variation of stock returns in the SET while the market capitalization was the second most important factor. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชยงการ ภมรมาศ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
122005.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License