Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสินทบ มั่นคง, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:42:32Z-
dc.date.available2022-08-17T03:42:32Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/655-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาท ทางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อำเภอแม่เมาะ ต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง (2) ศึกษาปัจจัยที่นำไปสู่บทบาทการเคลื่อนไหวของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะ ต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง (3) วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อำเภอแม่เมาะต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมใน อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง (4) เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมบทบาททางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะ ต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาททางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในอำเภอแม่เมาะจังหวัดลำปาง เป็นการต่อสู้ตามกฎหมายที่เปิดช่องทางให้ โดยการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายต่างๆ เพื่อการแกัไขปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อันเกิดจากการทำเหมืองเปิดถ่านหินลิกไนต์ (2) ปัจจัยที่นำไปสู่บทบาทการเคลื่อนไหวของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในจังหวัดลำปาง ได้แก่ ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม ที่ส่งผลให้เกิด ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาราคาพื่ชผลทางการเกษตรตกต่ำ (3) ปัญหาอุปสรรคของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ได้แก่ การขาดกลุ่มผู้นำที่เข้มแข็งในระดับชุมชนท้องถิ่น การไม่ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากภาครัฐ โดยเฉพาะกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการเปิดให้ภาคประชาสังคมได้มีบทบาท ในการต่อสู้เรียกร้อง (4) การส่งเสริมบทบาท ทางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยควรส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีบทบาท หรือมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และควรมีการรวมกลุ่มพร้อมทั้งมีผู้นำที่เข้มแข็งร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะนำพากลุ่มประชาสังคมไปในทิศทางของการแก้ไขปัญหา ด้านสิ่งแวดล้อม ให้เป็นในลักษณะที่เป็นรูปธรรมและเป็นการแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.272-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม -- แง่การเมืองth_TH
dc.subjectมนุษย์ -- อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม -- ไทยth_TH
dc.titleบทบาททางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอำเภอแม่เมาะต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe political role of environmental groups of Mae Mo District for environmental problems in Mae Mo District, Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.272-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (I) study the political role of environmental conservation groups in Mae Mo District, Lampang, in solving the district’s environmental problems; (2) study the factors that affected the movements of the environmental conservation groups; (3) analyze the problems and obstacles faced by the groups; and (4) form recommendations for promoting the political role of the groups in solving the environmental problems in the district. the results showed that (1) the environmental conservation groups in Mac Mo expressed their political role by joining in a network and making use of legal channels to try to reduce the environmental impact of the open pit lignite mining operations in the district. (2) The factors that affected the groups’ political movements were environmental factors that caused health problems among the population and low prices for agricultural produce. (3) The groups faced the problems of lack of strong leadership in the local communities and lack of support from the government sector, especially the Ministry of Natural Resources and Environment, which is supposed to promote the role of civil society in debating environmental issues. (4) Recommendations for promoting the political role of environmental conservation groups arc to have the Electricity Generating Authority of Thailand give local people the opportunity to participate in solving environmental problems, to have the groups continue to join forces and to find a strong leader, and to propose tangible, practical methods for solving the problem in a sustainable way.th_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119001.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons