Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัทมาพร เย็นบำรุง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัศนีย์วรรณ์ ศรีประดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล สหสุนทรวุฒิ, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:49:12Z-
dc.date.available2022-08-17T03:49:12Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/656-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดซื้อยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับโรงพยาบาลภาครัฐในจังหวัดนนทบุรี ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นครอบคลุมข้อมูลยาที่จำเป็นในการจัดซื้อยา 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ ข้อมูลบัญชียาหลักแห่งชาดิปี 51 ข้อมูลราคายา และข้อมูลองค์ประกอบอื่นของยาการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศใช้หลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ เริ่มจากการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ โดยการสัมภาษณ์เภสัชกรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภาครัฐในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 8 แห่ง รวม 8 คน จากนั้นวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช้โปรแกรม AppServ เวอร์ชัน 2.5.9 และโปรแกรมPHPMaker เวอร์ชัน 5.0.2 ภายใต้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP Professional หลังจากนั้น ได้ให์เภสัชกรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภาครัฐในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 8 แห่ง รวม 20 คน ทดลองใชัและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นผลการวิจัยทำให้ได้ระบบสารสนเทศบนเว็บที่สามารถบันทึกแก้ไขและค้นหาข้อมูลที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการ จัดซื้อยาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว จากการประเมินของผู้ไช้พบว่าผู้ไช้มีความพึงพอใจด้านการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ การรายงานผล และภาพรวมของระบบในระดับมากส่วนการค้นหาข้อมูลมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.subjectการจัดซื้อth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดซื้อยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลภาครัฐในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe development of the information system for drug procurement on the National List of Essential Medicines : a case of public hospitals in Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to develop an information system for drug procurement on the National List of Essential Medicines for public hospitals in Nonthaburi Province. The information system covered 3 groups of necessary data for drug procurement; namely, National List of Essential Medicines 2008, drug prices, and other drug components. This study was research and development. The system development life cycle methodology was used, starting with a preliminary study conducted through interviewing 8 pharmacists from 8 public hospitals in Nonthaburi Province. The analysis, design and development of the new system were carried out accordingly. AppServ 2.5.9 and PHPMaker 5.0.2 under Microsoft Windows XP Professional operating system were used as research tools. The evaluation of the system was then performed by 20 pharmacists from 8 public hospitals in Nonthaburi Province. The web-based information system resulting from this study allowed pharmacists to conveniently store, update and retrieve necessary data for drug procurement. The evaluation by the users revealed that most pharmacists was satisfied with the system at a high level in 3 aspects, i.e., inputting, reporting, and the overall system. As for the searching aspect, it was found to be at the highest level of users’ satisfactionen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม7.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons