Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวราภา ทองพาศน์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T08:29:49Z-
dc.date.available2023-06-20T08:29:49Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6573-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการนำนโยบายการปฏิรูปการศึกษาไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาระดับความสำเร็จการนำนโยบาย การปฏิรูปการศึกษาไปปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ของปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายการปฏิรูปการศึกษาไปปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 340 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตราประมาณค่า หาความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีการหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าความเชื่อมั่น 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานตามวิธีการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสำเร็จในการนานโยบายการปฏิรูปการศึกษาไปปฏิบัติของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาครโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายยุทธศาสตร์พบว่า มีความสำเร็จอยู่ในระดับมากทุกยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ที่มีความสำเร็จมากที่สุดเรียงตามลำดับ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพครูและผู้บริหารสถานศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพนักเรียน และยุทธศาสตร์ที่ 5 การมีส่วนร่วมของสังคมในการจัด การศึกษา (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการนานโยบายการปฏิรูปการศึกษาไป ปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร เป็นไปในทางบวกทุกด้าน โดยปัจจัยความสำเร็จที่มี ความสัมพันธ์มากที่สุดเรียงตามลำดับ ได้แก่ ปัจจัยด้านการทางานเป็นทีมมีความสัมพันธ์ในระดับ ค่อนข้างสูง ปัจจัยด้านภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูง ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมมี ความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านการจูงใจมีความสัมพันธ์ ในระดับปานกลาง และปัจจัยด้าน ความผูกพันและการยอมรับมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง สถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสมุทรสาคร จึงไม่ควรละเลยปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งไป ควรจะส่งเสริมและพัฒนาในทุก ๆ ด้านไป พร้อม ๆ กันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาครth_TH
dc.subjectการปฏิรูปการศึกษาth_TH
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติth_TH
dc.titleการนำนโยบายการปฏิรูปการศึกษาไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่่การศึกษาสมุทรสาครth_TH
dc.title.alternativeThe emplementation of education reform policy : a case study of Samutsakhon Educational Service Area Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the are : to study the implementation success level of Education reform Policy’s Samutsakhon Educational Service Area Office and to study the relation of factors affecting to success for implementation of Education reform policy of the officials concerned. The sample of subjects for the study were 340 school administrators and teachers working in school under supervision of Samutakhon Educational Service Area Office, using simple random sampling technique. The instrument employed was rating - scale questionnaires with reliability level 0.99. The data were analyzed and presented by percentage, mean, standard deviation and the hypothesis testing method to find a correlation coefficient of Pearson. The results of the research showed that (1) Implementation success level of education reform policy’s Samutsakhon Educational Service Area Office were rated overall in high level, therefore, all of five strategies were implemented successfully. The most success strategies are strategy 1 : creating the opportunities and educational equality, follow by strategy 3 : quality teachers and school administrators development, strategy 4 : the quality school development, strategy 2 : quality students development and , strategy 5 : Participation of social administration education. (2) The success factors are as follows team work having significantly high level, leadership having significantly high level, factors associated with participating in moderate level, motivating in moderate level and, commitment and acceptance factors in the medium level. Therefore the school and Samutsakhon Educational Service Area Office then should not ignore any factor and ought to encourage and develop in every factorsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122009.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons