Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสำราญ ทองแพง, 2491--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:53:49Z-
dc.date.available2022-08-17T03:53:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/657-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะของพรรคการเมืองที่เป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน (2) ศึกษาพัฒนาการทางการเมืองของพรรคประชาธิบัตย์และพรรคชาติไทยที่จะนำไปสู่การเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน และ (3) แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมืองไทยให้เป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นสอดคล้องกับแนวคิดของแซมมวล พี สันติงตัน ว่าพรรคการเมืองที่เป็นสถาบันทางการเมืองมีคุณลักษณะสำคัญสี่ประการ คือ มีความสามารถในการปรับตัว มีความสลับซับซ้อนมาก มีความเป็นอิสระจากอิทธิพลใดๆ และมีความกลมเกลียวเป็นปึกแผ่นอยู่มาก และยังสอดคล้องกับแนวคิดของ โจเซฟ ลาพาลอมบารา และ ไมรอน ไวเนอร์ ที่ว่าทฤษฎีสถาบัน เป็นทฤษฎีที่อธิบายว่า กำเนิดของพรรคการเมืองนั้นเกิดขึ้นจากการรวมตัวในรูปของสโมสรและกลุ่ม ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นพรรคการเมือง พรรคการเมืองที่เป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชนต้อง มีคุณลักษณะสำคัญเพิ่มเติมคือ การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน และการเปลี่ยนแปลงวัฒนจรรมทางการเมือง (2) กรณีพรรคประชาธิปัตย์ได้พัฒนาพรรคไปสู่การเป็นสถาบันทางการเมือง แต่ก็ยังไม่บรรลุความเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน เนื่องจากยังขาดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มากเพียงพอและต่อเนื่อง กรณีพรรคชาติไทยในช่วงเวลาของการดำรงอยู่ยังไม่สามารถพัฒนาพรรคไปสู่ การเป็นสถาบันทางการเมือง โดยขาดความสามารถในการปรับตัว และยังขาดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาขนที่มากเพียงพอและต่อเนื่อง (3) สำหรับแนวทางการปฎิบ้ติเพื่อพัฒนาพรรคการเมืองไปสู่การเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชนนั้น จะต้องพัฒนาระบอบประชาธิปไตย 3 ส่วนไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ ระบบการเมือง นักการเมือง และประชาชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.202-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพรรคชาติไทยth_TH
dc.subjectพรรคประชาธิปัตย์th_TH
dc.subjectพรรคการเมือง -- ไทยth_TH
dc.subjectสถาบันการเมืองth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาพรรคการเมืองไทยไปสู่การเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์เปรียบเทียบพรรคชาติไทยth_TH
dc.title.alternativeGuidelines of developing of Thai political parties towaed people's political institutions : a case study of the Democrat Party Compared to the Chart Thai Partyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.202-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the characteristics of political parties that are civic political institutions; (2) study the political development of the Democrat Party and the Chart Thai Party towards civic political institutions; and (3) recommend ways of developing Thai political parties into civic political institutions. This was a qualitative research based on critical analysis, analysis of documentary data and data from interviews with a sample, chosen through purposive sampling, of 32 people who were members or former members of the Democrat and Chart Thai Parties as well as political commentators. The results showed that (1) the sample agreed with the ideas of Samuel p. Huntington that political parties that are civic political institutions have four major characteristics: the ability to adapt, a high level of complexity, freedom from influence, and a high degree of unity and solidarity. This is consistent with the concept of Joseph La Palombara and Myron Weiner, who wrote that the institutional theory explains that political parties arise from the joining together of clubs and interest groups. Political parties that are civic institutions must have the additional characteristic of creating public participation and bringing about change in the political culture. (2) The Democrat Party has developed to become a political institution, but it is still not a civic political institution because it lacks sufficient and consistent activities with public participation. The Chart Thai Party, when it was still in existence, had not developed to be a political institution because it lacked the ability to adapt as well as sufficient and consistent activities with public participation. (3) The way to develop Thai political parties into civic political institutions is to develop the three major components of democracy, namely, the political system, politicians and the public.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118368.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons