Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรพงศ์ ศิริรัตนานุกูล, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T01:25:21Z-
dc.date.available2023-06-21T01:25:21Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6592en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงผังบัญชีมาตรฐานจาก Version 28 เป็น Version 2551 (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบการเงินและบัญชี โดยเปรียบเทียบผังบัญชีมาตรฐาน Version 28 กับ Version 2551 และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบการเงินและบัญชีหลังการเปลี่ยนแปลงผังบัญชีมาตรฐาน Version 28 เป็น Version 2551 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ นายทหารการเงินของหน่วยจังหวัดทหารบก สังกัดกองทัพบก รวมทั้งหมด 140 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีผลการศึกษาพบว่า (1) นายทหารการเงินมีความเห็นด้วยอย่างมากว่าโดยภาพรวมการเปลี่ยนแปลงผังบัญชีมาตรฐานจาก Version 28 เป็น Version 255I ช่วยทำให้การปฏิบัติงานง่ายขึ้น ทำให้การนำเสนอข้อมูลทางการเงินตรงตามความต้องการของผู้บริหาร และช่วยทำให้เกิดความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล (2) นายทหารการเงินมีความคิดเห็นว่าโดยภาพรวมระบบการเงินและบัญชีตามผังบัญชีมาตรฐาน Version 2551 มีประสิทธิภาพมากกว่าตามผังบัญชีมาตรฐาน Version 28 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาส่วนใหญ่เป็นปัญหาทางด้านการทำงานของระบบซึ่งเกี่ยวกับการล้างรายการเบิกเกินส่งคืนและการนำส่งเงินรายได้แผ่นดินที่ ไม่สามารถทำได้ในวันเดียวกันกับวันที่นำเงินเบิกเกินส่งคืนและเงินรายได้แผ่นดินนำส่งที่ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) และปัญหาการล้างการเบิกเงินไม่สามารถล้างได้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน จึงก่อให้เกิดความล่าช้ำในการทำงาน ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการล้างรายการเบิกเกินส่งคืน การนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน และการล้างรายการเบิกเงินควรปรับเปลี่ยนให้กลับไปเป็นเหมือน Version 28 ซึ่งสามารถล้างรายการเบิกเกินส่งคืนและรายการนำส่งเงินรายได้แผ่นดินได้ในวันเดียวกันกับวันที่นำเงินเบิกเกินส่งคืนและเงินรายได้แผ่นดินส่งที่ธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) และการล้างรายการเบิกเงินสามารถทำได้หลายแฟ้มข้อมูลในเวลาเดียวกัน ซึ่งทำให้ลดระยะเวลาในการทำงานได้มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเงิน--การบัญชีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleประสิทธิภาพของระบบการเงินและบัญชีหลังการเปลี่ยนแปลงผังบัญชีมาตรฐานจาก Version 28 เป็น Version 2551 : กรณีศึกษาจังหวัดทหารบกสังกัดกองทัพth_TH
dc.title.alternativeEfficiency of finance and accounting system after changes in standard chart of accounts from version 28 to version 2551 : a case study of military province, Royal Thai Armyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์th_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127392.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons