Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรีพร กาญจนาพฤกษ์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T02:02:00Z-
dc.date.available2023-06-21T02:02:00Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6598-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 (2) เปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของ ข้าราชการในแต่ละสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 (4) เสนอแนะนโยบายและมาตรการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัด สำนักงานสรรพากรภาค 6 ให้มีระดับผลสัมฤทธิ์มากขึ้น การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ ข้าราชการที่ปฏิบัติงาน ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 จำนวน 10 พื้นที่ ซึ่งมีข้าราชการที่ปฏิบัติงานจำนวน 814 คน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จานวน 269 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การ ทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ใน สังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 อยู่ในระดับมากกว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (2) ระดับ ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการแต่ละสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 ไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ปัจจัยด้านสมรรถนะ ปัจจัยด้าน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปัจจัยด้านการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ ปัจจัยด้านกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และ ค่านิยมในการทำงาน (4) จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะในการนำนโยบายและมาตรการต่าง ๆ เพื่อให้ผลการ ปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6 มีผลสัมฤทธิ์เพิ่มสูงขึ้น ควรให้ความสำคัญในการนาหลักสมรรถนะ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ รวมถึงกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมในการทำงาน มาใช้เป็นกรอบในการบริหารการปฏิบัติงานของ ข้าราชการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.93en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพากรภาค 6 -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน.th_TH
dc.titleระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ในสังกัดสำนักงานสรรพากรภาค 6th_TH
dc.title.alternativePerformance result of the Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the level of performance result of revenue department officers in Regional Revenue Office 6 (2) compare the level of performance result of each office in Regional Revenue Office 6 (3) study factors influencing the performance result of Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6 (4) recommend appropriate approach to enhance the performance result of Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6. This study was a survey research. Population consisted of 814 officers in Revenue Department Offices in Regional Revenue Office 6, totally 10 areas, from which samples of 269 were drawn. Instruments used were questionnaire and interview. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and multiple regression analysis. Research result revealed that (1) the level of performance result of Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6 was higher than 80 percent with.05 level of significance, (2) when compare the performance result among offices, no differences were found, (3) factors influencing the performance level of the Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6 at .05 level of significance were; competency, Good Governance, strategic management, together with paradigm, organizational culture and value factors, (4) recommendations were the organization should enforce the implementation of policy and other regulations so to enhance the performance level of Revenue Department Officers in Regional Revenue Office 6, moreover, emphasis should be put on developing performance guidelines including competency, Good Governance, strategic management, together with paradigm, organizational culture and value; which would lead to the increase of performance result of the officers as a wholeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124386.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons