Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorภัทรนันท์ เพ็ชรแก้ว, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T07:15:02Z-
dc.date.available2023-06-21T07:15:02Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6628en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นการพัฒนาการปฏิบัติที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเชียงใหม่ราม (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของลักษณะส่วนบุคคลต่อความเป็นเลิศของโรงพยาบาลเชียงใหม่ราม กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานในโรงพยาบาลเชียงใหม่ราม จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การทดสอบค่าที-เอฟ และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัย พบว่า (1) ด้านลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 70.8 มีอายุระหว่าง 30-39 ปี ร้อยละ 37.5 รายได้ระหว่าง 5,000 - 10,000 บาท ร้อยละ 45 มีการศึกษาระดับปริญญา ร้อยละ 49.2 มีระดับตำแหน่งเป็นผู้ปฏิบัติการ ร้อยละ 90 หน่วยงานที่สังกัดฝ่ายการพยาบาล ร้อยละ 53.3 มีอายุการทำงานมากกว่า 10 ปี ร้อยละ 34.2 (2) ระดับความคิดเห็นการปฏิบัติที่เป็นเลิศขององค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับปัจจัยสร้างความเป็นเลิศแต่ละด้านตามกรอบแนวคิด BSC พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าปัจจัยความเป็นเลิศขององค์กรอยู่ในระดับดีทั้ง 4 ด้านคือด้านผลการดำเนินงานของธุรกิจมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านกระบวนการดำเนินงานภายใน ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต ส่วนด้านความพึงพอใจของลูกค้า/ผู้รับบริการมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (3) การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของลักษณะส่วนบุคคลต่อความเป็นเลิศของโรงพยาบาลเชียงใหม่ราม พบว่า พนักงานที่มีอายุ รายได้ ตำแหน่งงาน อายุงานที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อสมรรถนะบุคคลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยยกเว้นด้านเพศ ระดับการศึกษา หน่วยงานที่สังกัดที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยสร้างความเป็นเลิศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเชียงใหม่รามth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.titleการพัฒนาการปฏิบัติที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเชียงใหม่รามth_TH
dc.title.alternativeBest practice development at Chiangmai Ram Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127167.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons