Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจีระพาพร สุวรรณสังข์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T07:25:24Z-
dc.date.available2023-06-21T07:25:24Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6631-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลาง (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลาง และ (3) ปัญหาอุปสรรคและเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลาง ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลาง จำนวน 803 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 267 คน คำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.970 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลาง อยู่ในระดับมาก โดยด้านความสมดุลระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (2) ในภาพรวม พบว่า ปัจจัยจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงานส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลางมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ และด้านลักษณะงาน ขณะที่ปัจจัยค้าจุนด้านนโยบายและการบริหารงานส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลางมากที่สุด รองลงมาคือ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (3) ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงาน พบว่า ค่าตอบแทนที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการครองชีพในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน และขาดความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน องค์กรควรจัดให้มีสวัสดิการและบริการเพิ่มเติมเพื่อช่วยเหลือด้านค่าครองชีพ ปรับปรุงระบบการประเมินผลงานและการพิจารณาความดีความชอบ โดยให้เจ้าหน้าที่เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงระบบการประเมินผลงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.101en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ในส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of Department of Livestock's personnel in central areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) level of quality of work life of Department of Livestock’s personnel in central area , (2) factors affecting quality of work life of Department of Livestock’s personnel in central area, and (3) problems and recommendation to enhance quality of work life of Department of Livestock’s personnel in central area. Population consisted of 803 personnel of Department of Livestock in central area. Samples of 267 were determined by Taro Yamane formula. Instrument used was questionnaire with reliability level at 0.970. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise regression analysis. Research results revealed that (1) quality of work life of Department of Livestock’s personnel in Central Area was in high level with highest mean on balance of work life (2)in the overall view, advancement of work and work itself from motivating factors respectively affected the quality of work life of Department of Livestock’s personnel in central area, while from hygiene factors, organization policy including administration and relationship with peers were the factors affecting personnel work life quality (3) problems were insufficient compensation compare to present standard of living, and lack of advancement in job opportunities; recommendations were the organization should provide additional benefits and welfare to support the officials’ living, performance appraisal system should be improved particularly the officials should be provided with opportunities to participate in the appraisal processen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125032.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons