Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6632
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เลิศโภคานนท์, อาจารยืที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรนฤน ช่วยจันทร์ดี, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T07:25:45Z-
dc.date.available2023-06-21T07:25:45Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6632en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการเงินฝากสลากออมสินพิเศษในจังหวัดลำปาง(2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการเงินฝากสลากออมสินพิเศษในจังหวัดลำปาง (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาคต่อการฝากเงินแบบสลากออมสินพิเศษของผู้ใช้บริการในจังหวัดลำปาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ทำการศึกษา คือ ผู้ใช้บริการเงินฝากแบบสลากออมสินพิเศษของธนาคารออมสินในจังหวัดลำปาง ทำการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรYamane ได้จำนวน 400 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ทำการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ ค่าความถี่คะแนนเฉลี่ย และค่าร้อยละ และนำเสนอในรูปแบบของตารางผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ใช้บริการด้านเงินฝากแบบสลากออมสินพิเศษในจังหวัดลำปางส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุช่วง 31-40 ปี สถานภาพ สมรส การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่ามากที่สุด ประกอบอาชีพเจ้าของกิจการ/ค้าขาย ระดับรายได้ระหว่าง 20,001-25,000 บาท (2) ด้านพฤติกรรมการฝากเงินด้วยสลากออมสินพิเศษ พบว่า จำนวนครั้งในการฝากเงินต่อเดือนส่วนใหญ่มีการฝาก เดือนละครั้ง จำนวนเงินฝากต่อครั้ง ต่ำกว่า 5,000.- บาท การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร จะมาจากสื่อโทรทัศน์วิทยุ เหตุผลในการตัดสินใจฝากเงินคือต้องการเงินรางวัล (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดเงินฝากประเภทสลากออมสินพิเศษ พบว่า ผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับส่วนประสมทางการตลาคทุกด้านในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์ คือการที่สามารถนำสลากมาค้ำประกันการ กู้เงินได้ ด้านราคาคือการที่เงินฝากแบบสลากสามารถได้รับคืนเงินฝากพร้อมดอกเบี้ยเมื่อฝากกรบอายุ ด้านการจัดจำหน่ายคือการที่สามารถรับเงินรางวัลโดยการโอนเงินเข้าบัญชีได้ ด้านการส่งเสริมการตลาดคือการที่พนักงานออกไปประชาสัมพันธ์ ด้านบุคลากรคือพนักงานมีความน่าเชื่อถือ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพคือความเป็นระเบียบเรียบร้อยของธนาคาร และด้านกระบวนการให้บริการคือการฝากเงินแบบสลากออมสินมีขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารออมสินth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.titleพฤติกรรมการฝากเงินแบบสลากออมสินพิเศษของลูกค้าในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe customer's behavior on depositting in the government saving bank's Lottery in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_125699.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons