Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชชาวีร์ โอบอ้อม, 2535- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T07:30:29Z-
dc.date.available2023-06-21T07:30:29Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6633-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติโรงพยาบาลตำรวจ 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาล วิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติโรงพยาบาลตำรวจ จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติโรงพยาบาล ตำรวจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาล วิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ โรงพยาบาลตำรวจที่ปฏิบัติงานเต็มเวลา และมีอายุงาน 1 ปี ขึ้นไป จำนวน ทั้งหมด 111 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์สถิติโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) คุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ โรงพยาบาลตำรวจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีระดับคุณภาพชีวิตในการทำงาน ลำดับแรก คือ ด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่วนประเด็นที่มีระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานลำดับสุดท้ายคือ ด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม 2) ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีอายุและรายได้ ต่อเดือนต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ โรงพยาบาลตำรวจแตกต่างกัน และ 3) แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ โรงพยาบาลตำรวจที่สำคัญคือ ควรปรับปรุงค่าตอบแทนให้ดีขึ้นทั้งเงินเดือน ค่าล่วงเวลา ค่าตอบแทน เวรบ่าย/เวรดึก ตลอดจนค่าตอบแทนเสี่ยงภัย การจัดตารางการปฏิบัติงานควรมีความยืดหยุ่น และควร ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาต่อหรือการศึกษาอบรมเฉพาะทางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ--ภาระงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยวิกฤติโรงพยาบาลตำรวจth_TH
dc.title.alternativeWork life quality development of professional nurses in Critical Care Units, Police General Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study named “Work-life quality development of professional nurses in critical care units, Police General Hospital” have three purposes, which are 1) to study the quality of working life of professional nurses in critical care units, Police General Hospital. 2) to compare the quality of working life of professional nurses in critical care units, Police General Hospital , classified by personal characteristics and 3) to suggest guidelines to improve the quality of working life of professional nurses in critical care units, Police General Hospital. This research is a quantitative research. The sample group used in this research was 111 professional nurses in critical care unit, Police General Hospital who worked as full-time job and have work experience at least one year or more. The data collection instrument used in the research was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test statistics and one-way analysis of variance. The results showed that 1) Quality of working-life of professional nurses in critical care units, Police General Hospital as a whole occur at a high level. The first level of quality of working-life is the job characteristic that is beneficial to society. 2) The respondents with different age and monthly income of professional nurses in critical care units, Police General Hospital were different on quality of working life with statistically significant at the level of 0.05. 3) The guidelines for improving the quality of working- life can be proposed that the compensation should be improved, followed by improving job schedule to be more flexible and promotion of further specific education or specialized trainingen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_162049.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons