Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาสกร สมบูรณ์ทรัพย์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T07:38:41Z-
dc.date.available2023-06-21T07:38:41Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6634en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (I) ศึกษาลักษณะส่วนบุลคลของผู้ใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชน ยูพีดีเพชรบูรณ์ 1 สาขาบึงสามพัน (2) ศึกษาพฤติกรรมในการใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกหน ยูพีดีเพชรบูรณ์ 1 สาขาบึงสามพัน (3) ศึกษาความพึงพอใจด้านปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มีต่อการใช้บริการสถานตรวจรถเอกชน ยูพีดีเพชรบูรณ์ 1 สาขาบึงสามพัน (4) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกค้าที่มาใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชน ยูพีดี เพชรบูรณ์ 1 ในเขตสำนักงานขนส่งจังหวัดเพชรบูรณ์ สาขาบึงสามพัน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ การแจกเจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับการทดสอบสมมติฐานจะใช้สถิติได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธี Lcast Significance Difference (LSD) ผลการวิจัย พบว่า(1)ด้านลักษณะส่วนบุคคล เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 31-40 ปี การศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่าหรือเท่ากับ 15.000 บาท และใช้รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะ (2) ด้านพฤติกรรมการใช้บริการที่สถานตรวจสภาพรถเอกชน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มาใช้บริการมากกว่าหนึ่งครั้ง โดยมาใช้บริการในช่วงเวลา 09.00 - 11.00 น. บ่อยที่สุด มาใช้บริการในระหว่างวันจันทร์-ศุกร์บ่อยที่สุด ส่วนใหญ่เดินทางมาติดต่อด้วยตัวเอง และรู้จักด้วยตนเองและมีความถี่ในการมาใช้บริการ 1 ครั้งปี (3) ด้านระดับความพึงพอใจในปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 6 ด้าน ระดับปานกลาง 1 ด้าน โดยด้านการจัดจำหน่ายมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือค้านผลิตภัณฑ์ บริการ และน้อยที่สุดคือด้านส่งเสริมการตลาด (4) ด้านการเปรียบ เทียบความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจด้านปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectรถยนต์--การตรวจสภาพ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมและความพึงพอใจของลูกค้าที่มาใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนยูพีดี เพชรบูรณ์ 1th_TH
dc.title.alternativeBehavior and customer satisfaction at UPD Automotive Service, Phetchaboon 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127287.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons