Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภาพิมพ์ อุทัยรัตน์, 2532- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:45:53Z-
dc.date.available2023-06-21T08:45:53Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6655-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (2) เปรียบเทียบภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของ ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอําเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย คณะผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น พนักงาน ส่วนท้องถิ่น ในเขตอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จํานวน 1,121 คน กลุ่มตัวอย่างจํานวน 295 คน โดยใช้สูตร ทาโร ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอยางแบบสัดส่วนโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 2 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มอํานาจให้กับผู้ปฏิบัติ และวิสัยทัศน์ (2) บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีระดับความคิดเห็นต่อภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในเขตอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลามี 3 ประการ ได้แก่ พัฒนาพัฒนาภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์อย่างต่อเนื่อง พัฒนาทักษะการสื่อสารให้เข้าใจง่าย ชัดเจน และตรงประเด็น และ มีความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทาง แก้ปัญหาที่เหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeVisionary leadership of the chief administrator of the Local Administrative Organization (LAO) in Hatyai district, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the visionary leadership levels of the chief administrator of the Local Administrative Organization (LAO) in Hatyai district, Songkhla province (2) to compare the visionary leadership level of the chief administrator of the LAO in Hatyai district, Songkhla province by using personal factors, and (3) to provide the suggestions toward the development of visionary leadership of the Hatyai’s chief administrator of the LAO. This study was a quantitative research. The population of this study consisted of 1,121 persons. The population used in this study was the LAO personnel consisting of Local administrators Board, Member of the local council and local administrative officers in Hatyai district, Songkhla province. The sample size was 295 people determined by using Taro Yamane formula. Sampling group was chosen by proportional stratified random sampling. The data were collected through a set of a questionnaire survey. Data were statistically analyzed in term of frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test, and One-way ANOVA. The results of the study revealed that: (1) the visionary leadership of the chief administrator of the Hatyai local administrative organization, was at high level in overall. When considering in each aspect, it was found that there were at high level in 2 aspects, which are Empowered People and Vision. (2) the LAO personnel with different personal factors had the different opinions toward the visionary leadership level of the chief administrator of the Local Administrative Organization (LAO) in Hatyai district, Songkhla province in overall with statistical significance at the level of 0.05. When considering in each aspect, it was found that the Appropriate Organizational Changes had shown a significant level at 0.01. (3) there are 3 suggestions for improving the visionary leadership level of the chief administrator of the Local Administrative Organization in Hatyai district, Songkhla province were proposed as follows; developing the visionary leadership continuously: developing the communication skills to be easy to understand, clear and get to the point, and adding more strategic thinking and appropriate solutionsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_162827.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons