Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6666
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | สนธญา ภูจ่าพล, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T00:43:06Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T00:43:06Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6666 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จในการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ (2) ศึกษาปัจจัยที่ีส่งผลต่อความสำเร็จของการนำการบริหารทรัพยากรบุคคล แบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคของการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ (4) เสนอแนวทาง เสริมสร้างความสำเร็จในการนำการบริหารทรัพยากรบุคคล แบบสมดุล มาใช้ในกรมคุมประพฤติการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือข้าราชการกรมคุมประพฤติ จำนวน 1,489 คน กลุ่มตัวอย่าง 315 คน คำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ียงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสำเร็จในการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุล มาใช้ในกรมคุมประพฤติ ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยด้านความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด และด้านความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่ีสุด (2) ปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดต่อความสำเร็จของการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติได้แก่ ผู้นำหรือผู้บริหาร ขณะที่ีบุคลากรเป็นด้านที่ีส่งผลน้อยที่ีสุด (3) ปัญหาอุปสรรคของการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ พบว่าปัญหาสำคัญคือปัญหาด้านบุคลากร โดยบุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุล และไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร รองลงมาคือด้านระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยยังขาดการบริหารจัดการที่ีเป็นระบบและไม่สามารถเชื่อมโยงการทำงานทั่วทั้งองค์การได้ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางเสริมสร้างความสำเร็จในการนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ คือ ผู้บริหารควรให้ความสำคัญและเปิดโอกาสให้บุคคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อองค์การต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กรมคุมประพฤติ--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.title | การนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแบบสมดุลมาใช้ในกรมคุมประพฤติ | th_TH |
dc.title.alternative | Implementation of human resource scorecard in Department of probation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research objectives were to (1) study the level of success of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation (2) study factors affecting the success of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation (3) study problems and obstacles of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation (4) recommend appropriate approach to enhance the success of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation. This study was a survey research. Population comprised 1,489 Department of Probation officials from which samples of 315 were drawn. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis.Research result revealed that (1) the success of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation was in low level, the highest mean was on accountability of human resource management, while the lowest mean was on strategic alignment (2) factor most affected the success of the implementation of human resource scorecard in Department of Probation was organization leaders or the management, while factor least affected the success was personnel (3) major problem was personnel factor particularly their lack of understanding on human resource scorecard together with their insufficient attention, next was problem on human resource management system especially on lack of systematic management and lack of integration with other systems in the organization (4) recommendations were: the management should put more emphasis on the importance of the implementation of human resource scorecard, and should provide the officials more opportunities to participate in the implementation so consequently implementation success could be satisfactorily achieved. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
125488.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License