Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6667
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | กัญญา ปลิวอิสสระ, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T00:57:16Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T00:57:16Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6667 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมของประชาชนในการใช้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชนรูปแบบใหม่ของรัฐ (2) ศึกษาระดับการบริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชนรูปแบบใหม่ของรัฐ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการให้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชน จำแนกตามพื้นที่ (4) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการให้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชนจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (5) ศึกษาปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการให้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชน (6) ศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ประชาชนผู้มาใช้บริการ ณ เคาน์เตอร์บริการประชาชน รวม 443 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยวิธีนัยสาคัญต่ำสุด ผลการศึกษา พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างใช้บริการทาบัตรประจำตัวประชาชนจากเคาน์เตอร์บริการมากที่สุด ความถี่ในการใช้บริการเคาน์เตอร์บริการประชาชน ส่วนใหญ่เดือนละ 1 ครั้ง การใช้บริการแต่ละครั้งใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที (2) การบริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก โดยด้านที่มีระดับการให้บริการดีกว่าด้านอื่นทุกด้านคือด้านบุคลากร รองลงมาคือด้านการให้บริการ และด้านการอำนวยความสะดวก ตามลำดับ (3) เมื่อเปรียบเทียบการบริการของเคาน์เตอร์บริการตามพื้นที่ พบว่าความคิดเห็นในภาพรวมของผู้ใช้บริการในพื้นที่ต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยการให้บริการของเคาน์เตอร์บริการประชาชนที่ศูนย์การค้าบิ๊กซี จังหวัดนครสวรรค์ ประชาชนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการในระดับมากที่สุด รองลงมาเป็นศูนย์การค้าเซียร์รังสิต จังหวัดปทุมธานี และศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ตามลำดับ (4) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าผู้ที่มีอายุ การศึกษา และรายได้ต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (5) ปัญหาและอุปสรรคสำคัญ ได้แก่ การอำนวยความสะดวก โดยเฉพาะด้านเวลาการบริการ และความไม่สะดวกด้านสถานที่ในการกรอกเอกสาร และ (6) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาได้แก่ ควรจัดองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องให้พร้อมรองรับผู้รับบริการ เพื่อให้ได้รับความสะดวกมากขึ้น ควรจัดสรรและบริหารเวลาให้ยืดหยุ่นได้ ดูแลด้านพื้นที่ให้เพียงพอและสร้างบรรยากาศของความสะดวก งามตา และปลอดภัย อันเป็นการสร้างความรู้สึกให้ผู้รับบริการอยากกลับมาใช้บริการอีก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.310 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริการสาธารณะ--ไทย | th_TH |
dc.title | การให้บริการรูปแบบใหม่ของรัฐ : เคาน์เตอร์บริการประชาชน | th_TH |
dc.title.alternative | Government counter service : new pattern of service provided by government | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.310 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.310 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) study service recipients’ behavior who received services at new pattern government counter service (2) study level of service delivered at new pattern government counter service (3) compare the service recipients’ opinion on the serviced categorized by service location (4) compare the service recipients’ opinion on the services of received categorized by personal factors (5) study the problems and obstacles related to the services delivered by government counter service (6) study the recommendations to improve and develop the government counter service. Samples were 443 people who received services at government counter service. instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and ANOVA. With LSD. Research results revealed that (1) the service that reipients used most at government counter service was the application of identification cards, most recipients used services at couter service once a month, with than 10 minutes each time (2) in the overall view, the service was in very good levels, with the highest on service personnel, followed by the services delivered, and facilitations respectively (3) when compared recipients’ opinions on services categorized by location, difference was found with 0.05 level of statistical significance, Big C Shopping Center, Nakhon Sawan province had the highest positive opinion on government counter service, followed by the Zeer Rangsit, in Pathum Thani province and Central World, Bangkok (4) when compared opinions by personal factors, it was that recipients with different age, education and income income levels had different opinions with 0.05 statistically significant (5) problems and obstacles were service facilitation and the area to foll in the forms (6) recommendations were : related service components should be provided to foster recipients’ convenience, service flexible time should by arranged, there should be sufficient coverage area, moreover, the impression of nice, convenient, and safe atmosphere should be emphasized so customers would return for the service. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
125597.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License