Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอิสระภัทร์ คุณประเสริฐ, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T01:21:27Z-
dc.date.available2023-06-23T01:21:27Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6669-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านภาวะ ผู้นำขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี และ (3) ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มีส่วนสำคัญทำให้ แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานีประสบ ผลสำเร็จ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่าน การหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.96 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 229 คน ซึ่งเป็ นการนำ ประชากรทั้งหมดมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง และประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1,110 คน ผู้ศึกษาใช้สูตรการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ทาโร่ ยามาเน่ รวมทั้งสิ้น 1,339 คน เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 1,283 คน คิดเป็นร้อยละ 95.81 ของแบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการ สัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ องค์การบริหารส่วน จังหวัดสุราษฏร์ธานี ไม่ได้ริเริ่มใช้จ่ายงบประมาณของกิจกรรมหรือโครงการอย่างประหยัด และคุ้มค่า (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการที่สำคัญคือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี ควรริเริ่ม ประกาศการใช้จ่ายงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี ต่อสาธารณะอย่างชัดเจน รวมทั้งควรริเริ่มใช้จ่ายงบประมาณของกิจกรรมหรือโครงการอย่างประหยัด และคุ้มค่า และ (3) ปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกที่สำคัญ คือ การที่นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี มีการศึกษาสูง อย่างน้อยระดับปริญญาตรี และการที่ประชาชนยอมรับและศรัทธาในตัวนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.34en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี -- การบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidelines of management administration regarding leadership of the Suratthani Provincial Administrative Organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to study (1) problems of management administration regarding leadership of the Suratthani Provincial Administrative Organization, (2) development guidelines of management administration regarding leadership of the Suratthani Provincial Administrative Organization, and (3) internal and external factors taking important parts of the success of the development guidelines of management administration regarding leadership of the Suratthani Provincial Administrative Organization. This study was a survey research using questionnaires which passed pre-test including validity check and reliability check at 0.96 level. Sample groups of 1,339 were divided into (1) 229 officers working in the Suratthani Provincial Administrative Organization and (2) 1,110 sample living in the areas of Suratthani Province, calculated by Taro Yamane’s formula at the confidence level 95%. The 1,283 sets of questionnaire were collected which equal to 95.81 % of the total samples. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, and t-test. In-dept interview of experts was also applied. The study results showed the sample agree that (1) the major problem was the Suratthani Administrative Organization’s lack of budget initiative in economical and worthwhile spending of the activities or projects; (2) the major development guideline of management administration was the Suratthani Administrative Organization should perform explicitly the initiative announcement of their budget spending to public and also perform the budget initiative spending of activities or projects; and (3) the major internal and external factors were the Suratthani Administrative Organization Chairman’s high education at least Bachelor Degree level and the people acceptance and confidence in the Chairmanen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128202.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons