Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสลิน ศิรยะพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorอาภากร โรจนบุรานนท์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T07:09:07Z-
dc.date.available2022-08-17T07:09:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/666-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การใช้เพลงเพื่อชีวิตเพื่อการสื่อสารทางการเมือง ผลการวิจัยพบว่า เพลงเพื่อชีวิตสามารถใช้ในการสื่อสารทางการเมืองใน 5 ลักษณะ คือ(1) การอบรมกล่อมเกลาและให้การเรีรู้ทางการเมือง โดยการปลุกจิตสำนึกเรื่องความรัก ความสามัคคี ให์มีความรักชาติ รักความเป็นไทย ส่งเสริมการพัฒนาประชาธิปไตยและการสร้าง ความชอบธรรมทางการเมอง ส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเมืองของประชาชน และการเผยแพร่ปลูกฝังความเชี่อทางการเมือง (2) การแสดงออกซึ่งผลประโยชน์หรือการเรียกร้องผลประโยชน์ในลักษณะการเรียกร้องต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพความเป็นประชาธิปไตย เรียกร้องสันติภาพทางการเมือง สะท้อนความทุกข์ยากทางการเมือง การเรียกร้องโดยใช้สัญลักษณ์ และกดดันการทำงานของรัฐบาล (3) การสนับสนุนหรือต่อด้านนโยบายของรัฐบาลซึ่งอาจมีทั้งการสนับสนุนและการต่อต้านในขั้นตอนของการกำหนดนโยบายและดำเนินนโยบายของรัฐบาล (4) การสะท้อนอุดมการณ์ทางการเมืองของไทย เน้นการต่อต้านขับไล่วัฒนธรรมต่างชาติ การต่อต้านความเจริญทางเทคโนโลยีและสังคมอุตสาหกรรม การแสดงค่านิยม ความคิด อุดมการณ์ใประวัติศาสตร์ ทางการเมืองไทย และ (5) การสื่อสารทางสังคม ในลักษณะการรายงานสภาพแวดล้อมทางสังคมการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของสังคม การถ่ายทอดมรดกทางสังคม และการให้ความบันเทิงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการเมือง -- ไทยth_TH
dc.subjectดนตรี -- แง่การเมืองth_TH
dc.titleการสื่อสารทางการเมืองผ่านเพลงเพื่อชีวิต : กรณีศึกษาวงคาราวานและวงคาราบาวth_TH
dc.title.alternativePolitical communication through social activist music : a case study of the Caravan and Carabao Bandsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the use of social activist music for political communication. This was a qualitative research based on a sample of 27 songs by Caravan and 134 songs by Carabao, released between 1973 and 2006, chosen through purposive sampling for their political content, along with additional data from print media such as essays, books, textbooks, theses, other academic papers and electronic media. The data were analyzed through interpretation and content analysis and presented through descriptive analysis. The results showed that social activist music can be used for political communication in 5 ways: (1) Indoctrination and political education, by raising awareness about love, unity, and nationalism, promoting democracy, creating political legitimacy, promoting political education, publicizing and fostering political beliefs. (2) Expression of public policy demands and inputing for democratic rights and freedoms, calls for political peace, airing of grievances, use of symbols to make demands, and pressuring the government. (3) Support of or opposition to government policy, either at the step of policy making or policy implementation. (4) Expression of Thai political ideals, with emphasis on opposition to foreign cultural influence, technological progress and industrial society; expression of traditional values, ideas and ideals from Thai political history. (5) Social communication to report on the social environment, build relationships between different segments of society, pass down the social heritage and provide entertainment.en_US
dc.contributor.coadvisorรุ่งพงษ์ ชัยนามth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118811.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons